Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS423104
ภาษาไทย
Thai name
สังคมวิทยาการเมือง
ภาษาอังกฤษ
English name
Political Sociology
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
  • เลือกเสรี (Free elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2562)
  • ชุดวิชาโทสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2567)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • รองศาสตราจารย์พรอัมรินทร์ พรหมเกิด
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • รองศาสตราจารย์พรอัมรินทร์ พรหมเกิด
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจขอบเขต ความหมาย และเนื้อหาวิชาสังคมวิทยาการเมือง
  • ผู้เรียนสามารถทราบความหมายของแนวคิดสำคัญได้แก่ อำนาจ การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง ระบอบประชาธิปไตย ผู้นำทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
  • ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นหรือปัจจัยทางการเมืองที่มีความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคมได้
จริยธรรม
Ethics
  • มีความซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสาธารณะ และมีวินัยในตนเอง
ทักษะ
Skills
  • ผู้เรียนสามารถนำเอาความรู้และแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาการเมืองไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์วิจารณ์ ปรากฏการณ์ทางสังคมการเมืองที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
  • ผู้เรียนสามารถเสนอตัวแบบสังคมในอนาคตที่ดีกว่าได้
ลักษณะบุคคล
Character
  • ผู้เรียนมีความตระหนักถึงสิทธิเสรีภาพ หน้าที่ และจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม ในฐานะที่เป็นพลเมืองของระบอบประชาธิปไตย
  • ผู้เรียนมีคุณธรรมเพื่อส่วนรวม มีความรู้ความเข้าใจเรื่องชุมชน มีอุดมการณ์และสามารถทำงานร่วมกับชุมชนท้องถิ่นได้ มีวินัย และมีความซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
     Description of Subject Course/Module
ภาษาไทย
Thai
ความหมาย ขอบเขต และกำเนิดของสังคมวิทยาการเมือง ประเด็นหลักและแนวทางการศึกษาสังคมวิทยาการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างทางสังคม วัฒนธรรม สถาบันทางสังคมอื่น ๆ และพฤติกรรมทางการเมืองของประชาชนในกระบวนการทางการเมือง การวิเคราะห์โครงสร้างทางอำนาจและบทบาทของกลุ่มอำนาจต่าง ๆ ในสังคม พินิจศึกษาวัฒนธรรมทางการเมือง การขัดเกลาทางการเมือง ภาวะผู้นำทางการเมือง ระบอบประชาธิปไตย และการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
ภาษาอังกฤษ
English
Meaning, scope and the origins of political sociology, approaches and key concepts in political sociology, the relationship between social structure, culture and other social institutions, political behavior of people in political process, analysis of power structure and other pressure groups, to consider political culture, political socialization, political leader, democracy and politic change
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
     Delivery mode and Learning management Method
รูปแบบ
Delivery mode
  • Online learning
  • Blended learning
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
Learning management Method
  • Project-based learning
  • Case discussion
  • lecture by online
7. แผนการจัดการเรียนรู้
     Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
หัวข้อการสอน
Teaching topics
จํานวน
ชั่วโมง
Number of hours
CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1 แนะนำเนื้อหารายวิชาเบื้องต้นที่จะเรียน และข้อตกลงในการเรียน, การวัดผลตลอดทั้งเทอม 3
  • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจขอบเขต ความหมาย และเนื้อหาวิชาสังคมวิทยาการเมือง
  • S1: ผู้เรียนสามารถนำเอาความรู้และแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาการเมืองไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์วิจารณ์ ปรากฏการณ์ทางสังคมการเมืองที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
  • E1: มีความซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสาธารณะ และมีวินัยในตนเอง
  • C1: ผู้เรียนมีความตระหนักถึงสิทธิเสรีภาพ หน้าที่ และจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม ในฐานะที่เป็นพลเมืองของระบอบประชาธิปไตย
พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet พร้อมทั้งแนะนำเนื้อหาของรายวิชาทั้งหมดที่จะต้องเรียน, เอกสารประกอบการสอน,สื่อการสอนและการเรียนรู้, และการวัดประเมินผลการเรียนตลอดทั้งเทอม
2-5 ความหมายและสาระของสังคมวิทยาการเมือง
- การเมืองคอะไร
- ความหมายและสาระของสังคมวิทยาการเมือง
- ขอบเขตการศึกษาสังคมวิทยาการเมือง
- กำเนิดสังคมวิทยาการเมือง
- ความแตกต่างระหว่างสังคมวิทยาการเมืองกับรัฐศาสตร์
6
  • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจขอบเขต ความหมาย และเนื้อหาวิชาสังคมวิทยาการเมือง
  • S1: ผู้เรียนสามารถนำเอาความรู้และแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาการเมืองไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์วิจารณ์ ปรากฏการณ์ทางสังคมการเมืองที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
  • E1: มีความซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสาธารณะ และมีวินัยในตนเอง
  • C1: ผู้เรียนมีความตระหนักถึงสิทธิเสรีภาพ หน้าที่ และจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม ในฐานะที่เป็นพลเมืองของระบอบประชาธิปไตย
  • C2: ผู้เรียนมีคุณธรรมเพื่อส่วนรวม มีความรู้ความเข้าใจเรื่องชุมชน มีอุดมการณ์และสามารถทำงานร่วมกับชุมชนท้องถิ่นได้ มีวินัย และมีความซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น
บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet, ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนดให้
4-5 แนวความคิดเกี่ยวกับอำนาจ (Power) 6
  • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจขอบเขต ความหมาย และเนื้อหาวิชาสังคมวิทยาการเมือง
  • K2: ผู้เรียนสามารถทราบความหมายของแนวคิดสำคัญได้แก่ อำนาจ การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง ระบอบประชาธิปไตย ผู้นำทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
  • S1: ผู้เรียนสามารถนำเอาความรู้และแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาการเมืองไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์วิจารณ์ ปรากฏการณ์ทางสังคมการเมืองที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
  • C1: ผู้เรียนมีความตระหนักถึงสิทธิเสรีภาพ หน้าที่ และจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม ในฐานะที่เป็นพลเมืองของระบอบประชาธิปไตย
  • C2: ผู้เรียนมีคุณธรรมเพื่อส่วนรวม มีความรู้ความเข้าใจเรื่องชุมชน มีอุดมการณ์และสามารถทำงานร่วมกับชุมชนท้องถิ่นได้ มีวินัย และมีความซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น
1.บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet,
2. ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนด,
3. ให้นักศึกษาทำรายงานเพิ่มเติม
6-7 - ความหมายของอำนาจ
- อำนาจและการใช้อำนาจทางการเมือง
- มิติของอำนาจ
- ลักษณะสำคัญของอำนาจ
- ประเภทของอำนาจ
- อำนาจในทัศนะของ อัลวิน ทอฟฟ์เลอร์
- แนวการศึกษาอำนาจในทางสังคมวิทยา
6
  • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจขอบเขต ความหมาย และเนื้อหาวิชาสังคมวิทยาการเมือง
  • K2: ผู้เรียนสามารถทราบความหมายของแนวคิดสำคัญได้แก่ อำนาจ การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง ระบอบประชาธิปไตย ผู้นำทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
  • K3: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นหรือปัจจัยทางการเมืองที่มีความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคมได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถนำเอาความรู้และแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาการเมืองไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์วิจารณ์ ปรากฏการณ์ทางสังคมการเมืองที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
  • S2: ผู้เรียนสามารถเสนอตัวแบบสังคมในอนาคตที่ดีกว่าได้
  • C1: ผู้เรียนมีความตระหนักถึงสิทธิเสรีภาพ หน้าที่ และจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม ในฐานะที่เป็นพลเมืองของระบอบประชาธิปไตย
  • C2: ผู้เรียนมีคุณธรรมเพื่อส่วนรวม มีความรู้ความเข้าใจเรื่องชุมชน มีอุดมการณ์และสามารถทำงานร่วมกับชุมชนท้องถิ่นได้ มีวินัย และมีความซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น
1.บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet
2. ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนด
3. ให้นักศึกษาทำรายงานเพิ่มเติม
8-9 การมีส่วนร่วมทางการเมือง (political participation)
- การมีส่วนร่วมทางการเมืองคืออะไร
- แนวคิดทฤษฎีเรื่องการมีส่วนร่วมทางการเมือง
- ทำไมประชาชนจึงต้องมีส่วนร่วมทางการเมือง
- ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมทางการเมืองได้อย่างไร
- ปัจจัยหรือเงื่อนไขที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมือง
- สาเหตุของการที่บุคคลไม่เข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง
- พัฒนาการของการมีส่วนร่วมทางการเมืองของคนไทย
6
  • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจขอบเขต ความหมาย และเนื้อหาวิชาสังคมวิทยาการเมือง
  • K2: ผู้เรียนสามารถทราบความหมายของแนวคิดสำคัญได้แก่ อำนาจ การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง ระบอบประชาธิปไตย ผู้นำทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
  • K3: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นหรือปัจจัยทางการเมืองที่มีความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคมได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถนำเอาความรู้และแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาการเมืองไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์วิจารณ์ ปรากฏการณ์ทางสังคมการเมืองที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
  • S2: ผู้เรียนสามารถเสนอตัวแบบสังคมในอนาคตที่ดีกว่าได้
  • C1: ผู้เรียนมีความตระหนักถึงสิทธิเสรีภาพ หน้าที่ และจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม ในฐานะที่เป็นพลเมืองของระบอบประชาธิปไตย
  • C2: ผู้เรียนมีคุณธรรมเพื่อส่วนรวม มีความรู้ความเข้าใจเรื่องชุมชน มีอุดมการณ์และสามารถทำงานร่วมกับชุมชนท้องถิ่นได้ มีวินัย และมีความซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น
1.บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet
2. ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนด
3. ให้นักศึกษาทำรายงานเพิ่มเติม
10 วัฒนธรรมทางการเมือง (Political Culture)
- ความหมายของวัฒนธรรมทางการเมือง
- ประเภทของวัฒนธรรมทางการเมือง
- หลักเกณฑ์ในการให้นิยามความหมายวัฒนธรรมทางการเมือง
- วัฒนธรรมทางการเมืองกับการกล่อมเกลาทางการเมือง
- ความเสื่อมของวัฒนธรรมทางการเมือง
- วัฒนธรรมทางการเมืองที่เอื้อต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตย
- วัฒนธรรมทางการเมืองของไทย
3
  • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจขอบเขต ความหมาย และเนื้อหาวิชาสังคมวิทยาการเมือง
  • K2: ผู้เรียนสามารถทราบความหมายของแนวคิดสำคัญได้แก่ อำนาจ การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง ระบอบประชาธิปไตย ผู้นำทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
  • K3: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นหรือปัจจัยทางการเมืองที่มีความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคมได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถนำเอาความรู้และแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาการเมืองไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์วิจารณ์ ปรากฏการณ์ทางสังคมการเมืองที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
  • S2: ผู้เรียนสามารถเสนอตัวแบบสังคมในอนาคตที่ดีกว่าได้
  • C1: ผู้เรียนมีความตระหนักถึงสิทธิเสรีภาพ หน้าที่ และจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม ในฐานะที่เป็นพลเมืองของระบอบประชาธิปไตย
  • C2: ผู้เรียนมีคุณธรรมเพื่อส่วนรวม มีความรู้ความเข้าใจเรื่องชุมชน มีอุดมการณ์และสามารถทำงานร่วมกับชุมชนท้องถิ่นได้ มีวินัย และมีความซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น
1.บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet
2. ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนด
3. ให้นักศึกษาทำรายงานเพิ่มเติม
11-13 ระบอบประชาธิปไตย (Democracy)
- ความหมายของประชาธิปไตย
- ความเป็นมาของกรปกครองระบอบประชาธิปไตย
- ข้อสมมติเบื้องต้นของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
- รูปแบบการปกครองและสถาบันการเมืองในระบอบประชาธิปไตย
- ปัจจัยที่เอื้อต่อการเป็นประชาธิปไตย
- พัฒนาการของการปกครองระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
- แนวทางการพัฒนาประชาธิปไตยของไทยในอนาคต
9
  • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจขอบเขต ความหมาย และเนื้อหาวิชาสังคมวิทยาการเมือง
  • K2: ผู้เรียนสามารถทราบความหมายของแนวคิดสำคัญได้แก่ อำนาจ การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง ระบอบประชาธิปไตย ผู้นำทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
  • K3: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นหรือปัจจัยทางการเมืองที่มีความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคมได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถนำเอาความรู้และแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาการเมืองไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์วิจารณ์ ปรากฏการณ์ทางสังคมการเมืองที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
  • C1: ผู้เรียนมีความตระหนักถึงสิทธิเสรีภาพ หน้าที่ และจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม ในฐานะที่เป็นพลเมืองของระบอบประชาธิปไตย
  • C2: ผู้เรียนมีคุณธรรมเพื่อส่วนรวม มีความรู้ความเข้าใจเรื่องชุมชน มีอุดมการณ์และสามารถทำงานร่วมกับชุมชนท้องถิ่นได้ มีวินัย และมีความซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น
1.บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet
2.ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนด
3.ให้นักศึกษาทำรายงานเพิ่มเติม
14 ผู้นำทางการเมือง (political leader)
- แนวการศึกษาผู้นำทางการเมืองแบบต่างๆ
- หลักเกณฑ์ของการมีสิทธิที่จะได้รับการเลือกสรรเป็นผู้นำทางการเมือง
- ปัญหาการเลือกสรรผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาทางการเมือง
3
  • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจขอบเขต ความหมาย และเนื้อหาวิชาสังคมวิทยาการเมือง
  • K2: ผู้เรียนสามารถทราบความหมายของแนวคิดสำคัญได้แก่ อำนาจ การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง ระบอบประชาธิปไตย ผู้นำทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
  • K3: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นหรือปัจจัยทางการเมืองที่มีความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคมได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถนำเอาความรู้และแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาการเมืองไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์วิจารณ์ ปรากฏการณ์ทางสังคมการเมืองที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
  • C1: ผู้เรียนมีความตระหนักถึงสิทธิเสรีภาพ หน้าที่ และจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม ในฐานะที่เป็นพลเมืองของระบอบประชาธิปไตย
  • C2: ผู้เรียนมีคุณธรรมเพื่อส่วนรวม มีความรู้ความเข้าใจเรื่องชุมชน มีอุดมการณ์และสามารถทำงานร่วมกับชุมชนท้องถิ่นได้ มีวินัย และมีความซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น
1.บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet, 2. ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนด, 3. ให้นักศึกษาทำรายงานเพิ่มเติม
15 การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง (Political Change)
- ความหมายการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
- กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
- การพัฒนาทางการเมือง
- ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
3
  • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจขอบเขต ความหมาย และเนื้อหาวิชาสังคมวิทยาการเมือง
  • K2: ผู้เรียนสามารถทราบความหมายของแนวคิดสำคัญได้แก่ อำนาจ การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง ระบอบประชาธิปไตย ผู้นำทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
  • K3: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นหรือปัจจัยทางการเมืองที่มีความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคมได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถนำเอาความรู้และแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาการเมืองไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์วิจารณ์ ปรากฏการณ์ทางสังคมการเมืองที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
  • C1: ผู้เรียนมีความตระหนักถึงสิทธิเสรีภาพ หน้าที่ และจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม ในฐานะที่เป็นพลเมืองของระบอบประชาธิปไตย
  • C2: ผู้เรียนมีคุณธรรมเพื่อส่วนรวม มีความรู้ความเข้าใจเรื่องชุมชน มีอุดมการณ์และสามารถทำงานร่วมกับชุมชนท้องถิ่นได้ มีวินัย และมีความซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น
1.บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet
2. ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนด
3. ให้นักศึกษาทำรายงานเพิ่มเติม
รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
     Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
CLO สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
หมายเหตุ
Note
การเข้าชั้นเรียนใน kku e-learning และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
  • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจขอบเขต ความหมาย และเนื้อหาวิชาสังคมวิทยาการเมือง
10
รายงาน 3 ชิ้น
  • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจขอบเขต ความหมาย และเนื้อหาวิชาสังคมวิทยาการเมือง
  • K2: ผู้เรียนสามารถทราบความหมายของแนวคิดสำคัญได้แก่ อำนาจ การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง ระบอบประชาธิปไตย ผู้นำทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
  • K3: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นหรือปัจจัยทางการเมืองที่มีความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคมได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถนำเอาความรู้และแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาการเมืองไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์วิจารณ์ ปรากฏการณ์ทางสังคมการเมืองที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
  • S2: ผู้เรียนสามารถเสนอตัวแบบสังคมในอนาคตที่ดีกว่าได้
20
สอบปลายภาค
  • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจขอบเขต ความหมาย และเนื้อหาวิชาสังคมวิทยาการเมือง
  • K2: ผู้เรียนสามารถทราบความหมายของแนวคิดสำคัญได้แก่ อำนาจ การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง ระบอบประชาธิปไตย ผู้นำทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
  • K3: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นหรือปัจจัยทางการเมืองที่มีความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคมได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถนำเอาความรู้และแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาการเมืองไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์วิจารณ์ ปรากฏการณ์ทางสังคมการเมืองที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
  • S2: ผู้เรียนสามารถเสนอตัวแบบสังคมในอนาคตที่ดีกว่าได้
50
งานกลุ่ม
  • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจขอบเขต ความหมาย และเนื้อหาวิชาสังคมวิทยาการเมือง
  • K2: ผู้เรียนสามารถทราบความหมายของแนวคิดสำคัญได้แก่ อำนาจ การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง ระบอบประชาธิปไตย ผู้นำทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
  • K3: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นหรือปัจจัยทางการเมืองที่มีความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจและสังคมได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถนำเอาความรู้และแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาการเมืองไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์วิจารณ์ ปรากฏการณ์ทางสังคมการเมืองที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
  • S2: ผู้เรียนสามารถเสนอตัวแบบสังคมในอนาคตที่ดีกว่าได้
  • E1: มีความซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสาธารณะ และมีวินัยในตนเอง
  • C1: ผู้เรียนมีความตระหนักถึงสิทธิเสรีภาพ หน้าที่ และจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม ในฐานะที่เป็นพลเมืองของระบอบประชาธิปไตย
  • C2: ผู้เรียนมีคุณธรรมเพื่อส่วนรวม มีความรู้ความเข้าใจเรื่องชุมชน มีอุดมการณ์และสามารถทำงานร่วมกับชุมชนท้องถิ่นได้ มีวินัย และมีความซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น
20
สัดส่วนคะแนนรวม 100
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
     Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา
Type
รายละเอียด
Description
ประเภทผู้แต่ง
Author
ไฟล์
File
หนังสือ หรือ ตำรา เกรียงศักดิ์ เจริญวงศักดิ์. (2539). อนาคตผู้นำการเมืองไทยในสองทศวรรษหน้า. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.
หนังสือ หรือ ตำรา เกรียงศักดิ์ เจริญวงศักดิ์. (2539). สังคมทุรชน : ยุทธศาสตร์ความล่มสลายของสังคม. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.
หนังสือ หรือ ตำรา ชัยอนันต์ สมุทวนิช. (2539). อนาคตการเมืองไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สุขุมและบุตร.
หนังสือ หรือ ตำรา พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2556). สังคมวิทยาการเมือง (ฉบับปรับปรุง). ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
หนังสือ หรือ ตำรา วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร. (2532). ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ : ฐานรากของถนนสู่ประชาธิปไตยอันสมบูรณ์.
กรุงเทพฯ :วศิน.
หนังสือ หรือ ตำรา อเนก เหล่าธรรมทัศน์. (2550). สองนคราประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ : คบไฟ.
หนังสือ หรือ ตำรา อเนก เหล่าธรรมทัศน์. (2543). การเมืองของพลเมือง : สู่สหัสวรรษใหม่. กรุงเทพฯ : คบไฟ.
หนังสือ หรือ ตำรา Janoski, T. Alford; Hicks, A. R. & Schwartz, M. A. Editors. (2005). The Handbook of Political Sociology,
States, Civil Societies, and Globalization. New York : Cambridge University Press.
หนังสือ หรือ ตำรา Nash, Kate. (2000). Contempolary Political Sociology : Globalization, Politics and Power. Malden, Mass : Blackwell Publishing.
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
     Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
Evaluation of course effectiveness and validation
  • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
  • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
  • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
Improving Course instruction and effectiveness
  • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
  • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ