รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
แนะนำหัวข้อ, รายละเอียดเนื้อหาของรายวิชาที่เรียน, การวัดและประเมินผล,วิธีการสอน บทที่ 1แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับองค์การ - องค์การคืออะไร - องค์ประกอบขององค์การที่ซับซ้อน - องค์การตามทัศนะของ Chester I. Barnard - องค์การที่เป็นทางการ - องค์การและการจัดการ - องค์การที่เป็นระบบเปิดและระบบปิด |
6 |
|
1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet, มีการชี้แจงและแนะนำวิธีการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ kku e-learning, 2) เริ่มต้นสอนบทที่ 1 เรื่องแนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับองค์การ 3) สรุปหัวข้อการบรรยาย ให้มีการสอบถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปรายถกเถียงกัน มอบหมายให้ทำรายงานย่อย 1 ชิ้น |
|
3-4 |
บทที่ 2 องค์การแบบระบบราชการ (Bureaucracy) - การเกิดขึ้นขององค์การแบบระบบราชการ - ทฤษฎีองค์การแบบระบบราชการตามแนวคิดของ Max Weber - การเสียระเบียบหรือความผิดปรกติขององค์การแบบระบบราชการ - องค์การแบบระบบราชการกับแนวคิด McDonaldization ของ George Ritzer - Robert Michels กับกฎเหล็กแห่งคณาธิปไตย |
6 |
|
1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet, มีการชี้แจงและแนะนำวิธีการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ kku e-learning, 2) สอนบทที่ 2 เรื่ององค์การแบบระบบราชการ 3) สรุปหัวข้อการบรรยาย ให้มีการสอบถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปรายถกเถียงกันในชั้นเรียนเสมือนจริง 4) มอบหมายให้ทำรายงานย่อย 1 ชิ้น |
|
5-6 |
บทที่ 3 สิ่งแวดล้อมองค์การ (Organizational Environment) - ความหมายของสิ่งแวดล้อมองค์การ - ประเภทของสิ่งแวดล้อมองค์การ - ลักษณะของสิ่งแวดล้อมองค์การตามแนวคิดของ Tom Burns and G.M. Stalker - ทฤษฎีการพึ่งพาทรัพยากรกับสิ่งแวดล้อมองค์การ - กลยุทธ์การจัดการสิ่งแวดล้อมองค์การ |
6 |
|
1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet, มีการชี้แจงและแนะนำวิธีการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ kku e-learning, 2) สอนบทที่ 3 เรื่องสิ่งแวดล้อมองค์การ 3) สรุปหัวข้อการบรรยาย ให้มีการสอบถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปรายถกเถียงกันในชั้นเรียนเสมือนจริง 4) มอบหมายให้ทำรายงานย่อย 1 ชิ้น |
|
7-8 |
บทที่ 4 วงจรชีวิตองค์การ (life cycle of organizations) - ขั้นตอนในวงจรชีวิตขอององค์การ - การจัดการวงจรชีวิตขอองค์การ - สาเหตุที่ทำให้องค์การเสื่อมและตาย - จุดจบขององค์การ |
6 |
|
1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet, มีการชี้แจงและแนะนำวิธีการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ kku e-learning 2) สอนบทที่ 3 เรื่องสิ่งแวดล้อมองค์การ 3) สรุปหัวข้อการบรรยาย เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการสอบถาม,แลกเปลี่ยนความคิดเห็น, การอภิปรายถกเถียงกันในชั้นเรียนเสมือนจริง |
|
9-11 |
บทที่ 5 วัฒนธรรมองค์การ (Organizational Culture) - ลักษณะทั่วไปของวัฒนธรรมองค์การ - ความหมายวัฒนธรรมองค์การ - ประเภทวัฒนธรรมองค์การ - วัฒนธรรมองค์การเกิดขึ้นได้อย่างไร - กระบวนการปลูกฝังวัฒนธรรมองค์การ - ระดับของวัฒนธรรมองค์การ - การจัดการวัฒนธรรมองค์การ |
9 |
|
1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet, มีการชี้แจงและแนะนำวิธีการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ kku e-learning, 2) สอนบทที่ 3 เรื่องสิ่งแวดล้อมองค์การ 3) สรุปหัวข้อการบรรยาย ให้มีการสอบถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปรายถกเถียงกันในชั้นเรียนเสมือนจริง 4) มอบหมายให้ทำรายงานย่อย 1 ชิ้น |
|
12-15 |
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาองค์การ (Organizational Change and Development) - ความหมายและลักษณะการเปลี่ยนแปลงขององค์การ - สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงองค์การ - แนวทางและขั้นตอนในการเปลี่ยนแปลง - วิธีการลดการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง - ที่มาของการพัฒนาองค์การ - ความหมายของการพัฒนาองค์การ - ลักษณะสำคัญของการพัฒนาองค์การ - ฐานคติของการพัฒนาองค์การ - วัตถุประสงค์และความจำเป็นในการพัฒนาองค์การ - กระบวนการและขั้นตอนในการพัฒนาองค์การ |
12 |
|
1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet มีการชี้แจงและแนะนำวิธีการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ kku e-learning, 2) สอนบทที่ 3 เรื่องสิ่งแวดล้อมองค์การ 3) สรุปหัวข้อการบรรยาย, เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการสอบถาม,แลกเปลี่ยนความคิดเห็น, การอภิปรายถกเถียงกันในชั้นเรียนเสมือนจริง |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
รายงาน 4 ชิ้น |
|
40 | |
การเข้าชั้นเรียนใน kku e-learning และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน |
|
15 | |
สอบปลายภาค |
|
45 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ(ก.พ.ร.). (2548). แผนยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาระบบ ราชการไทย(พ.ศ. 2546-พ.ศ.2550). [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http:www.opdc.go.th/Plan/File-download/1094474995 .pdf. 22 เมษายน 2548 |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
จุมพล หนิมพานิช. (2538). ระบบราชการเปรียบเทียบ. ในเอกสารการสอนวิชาการบริหารรัฐกิจ เปรียบเทียบและการบริหารการพัฒนา หน่วยที่ 1-17. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
จุมพล หนิมพานิช.(2552). การพัฒนาองค์การ. ใน การบริหารและการพัฒนาองค์การ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชารัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | เจษฎา นกน้อย. (2554). แนวคิดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ร่วมสมัย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม | ชนิดา จิตตรุทธะ (2554). “ความไม่สอดคล้องระหว่างวัฒนธรรมองค์การและวัฒนธรรมปัจเจกบุคคล : การปะทะทางวัฒนธรรมในองค์การวิชาชีพ. วารสารการเมืองการปกครอง, 1,2 (มีนาคม – สิงหาคม) หน้า 126 – 146. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร.(2540). การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ตินปรัชญพฤทธิ์. (2538).ศัพท์รัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ไทยรัฐ. (2559). “วาทกรรมแก้ปัญหาราคาข้าว ผลประโยชน์บนคราบน้ำตา ชาวนา.” จันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน. หน้า 8. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ประเวศ วะสี. (2548). การจัดการความรู้ กระบวนการปลดปล่อยมนุษย์สู่ศักยภาพ เสรีภาพ และความสุข. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2552). องค์การและการบริหารจัดการ. นนทบุรี :ธิงค์ บียอนด์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
พิทยา บวรวัฒนา.(2541).รัฐประศาสนศาสตร์ : ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา (ค.ศ.1887- ค.ศ.1970)พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2551). “กลยุทธ์การสร้างความอยู่รอดขององค์การพัฒนาเอกชนไทย : การวิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีพึ่งพาทรัพยากร”. มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 25,3 (กันยายน – ธันวาคม). น. 22 – 56. |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
พีระพงษ์ สุนทรวิภาค. (2558). “วัฒนธรรมกับการพัฒนาความเข้มแข็งของสหภาพแรงงานใน ภาคตะวันออกของไทย”. การเมือง การบริหาร และกฎหมาย.7,7 (กันยายน – ธันวาคม). น. 145 – 169. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
นิตยา เงินประเสริฐศรี.(2542). ทฤษฎีองค์การ: แนวทางการศึกษาเชิงบูรณาการ.(พิมพ์ครั้งที่ 3) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ยุรพร ศุทธรัตน์. (2553). องค์การเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ราชบัณฑิตยสถาน. (2532). พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา อังกฤษ – ไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง กรุ๊ฟ. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ. (2543).สาธารณบริหารศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา. (2551). แนวความคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์. เชียงใหม่ : ธนุชพริ้นติ้ง. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สุจิตรา ธนานันท์. (2550). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุธรรม รัตนโชติ (แปลและเรียบเรียง).(2552). พฤติกรรมองค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ท็อป. | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
ทศพร ศิริสัมพันธ์.(2547).การจัดการภาครัฐสมัยใหม่.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.opdc.go.thสืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2547. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ทศพร ศิริสัมพันธ์. (2549).ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารราชการแนวใหม่. สำนักงานคณะกรรมพัฒนาระบบราชการ. กรุงเทพฯ, |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์. (25559). www.eduzones.com สืบค้นเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | วันชัย มีชาติ. (2554). การบริหารองค์การ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
อมร จันทรสมบูรณ์. 2550. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http:www.pub-law.net/printPublaw.asp?Publawid=1162 20 ธันวาคม 2550. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
อุดร ตันติสุนทร. การกระจายอำนาจการปกครองญี่ปุ่น.(2548). [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.matichon.co.th. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2556. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
อัมพร ธำรงลักษณ์. (2551). องค์การ : ทฤษฎี โครงสร้าง และการออกแบบ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
อัมพร ธำรงลักษณ์. (2551). องค์การ : ทฤษฎี โครงสร้าง และการออกแบบ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Adler, Paul S. (2009). The Oxford Handbook of Sociology and Organization Studies : Classic Foundations. Oxford : Oxford University Press. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Aldrich, Howard & Pfeffer, Jeffrey. (2002). Environments of Organizations : Central Currents in Organization Studies. New York : SAGE Publications. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Alvesson, Mats (2013). Understanding Organizational Culture. (2nd Edition) California : SAGE Publications Inc. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Alvessson, Mats & Sveningsson, Stefan (2016). Changing Organizational Culture : Cultural Change Work in Progress. (2nd Edition).New York : Routledge. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Argenti, J. (1976). Corporate Collapse: The Causes and Symptoms. New York: McGraw Hill. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
Balbis, J. (2008). NGOs Governance and Development in Latin America and the Caribbean. Available from http://Unesco.prg/most/dsp53_en.htm;Internet; Accessed July 8. 2005. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Bernard, Chester. I. (1938). The Functions of the Executive. Cambridge, Mass: Harvard University Press. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Beckhard, Richard. (1989). Organizational Development : Strategies and Models. New York : Addison-Wesley. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Beckhard, Richard. (1989). Organizational Development : Strategies and Models. New York : Addison-Wesley. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Bennet, A. &Bennet, D. (2004). Organizational Survival in the New World: The Intelligent Complex Adaptive System. Boston: Butterworth-Heinemann. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Bennis, Warren G. & Schein, Edgar G.(1969).Organization Development : Its Nature, Origins and Prospects. New York : Pearson Education. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Bennis, Warren G.(1995). The 21st Century Organization: Reinventing through Reengineering. San Francisco: Jossey-Bass. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Bennet, Alex & Bennet, David (2004). Organizational Survival in the New World : The Intelligent Complex Adaptive System. New York : ELSVIER |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Cameron, Gary. (1997). Protecting Children and Supporting Families : Promising Programs and Organizational Realities. New York : Aldine De Gruyter. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ