รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 | แนะนำรายวิชา แนะนำรายวิชา กิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผล ความหมายและความสำคัญของจิตวิทยาสังคมทฤษฎีจิตวิทยาสังคม กรณีศึกษา | 3 |
|
บรรยายแนะนำรายวิชาในห้องเรียน โดยใช้สื่อประกอบการสอนคือ มคอ.3 แผนการสอน ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน กรณีศึกษาจาก YouTube |
|
2-3 |
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิตวิทยาสังคม แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง - นิยามความหมาย ขอบเขตการศึกษา - พัฒนาการของแนวคิด ทฤษฎีจิตวิทยาสังคม - แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง |
6 |
|
บรรยาย เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิตวิทยาสังคม การนิยามความหมาย ขอบเขตการศึกษา พัฒนาการแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น กรณีศึกษาจาก YouTube |
|
4-5 |
ความสัมพันธ์ทางสังคมและการขัดเกลาทางสังคม (Socialization) - การเรียนรู้ทางพฤติกรรม - การรับรู้ทางสังคม - อิทธิพลของสังคมที่มีต่อพฤติกรรม |
6 |
|
บรรยาย เรื่อง ความสัมพันธ์ทางสังคมและการขัดเกลาทางสังคม ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับกรณีศึกษาจากเรื่องสั้นที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน |
|
6-7 |
กลุ่มและการรวมกลุ่ม - พฤติกรรมรวมหมู่ - บรรทัดฐานกลุ่ม - พลวัตกลุ่ม |
6 |
|
บรรยาย เรื่อง กลุ่มและการรวมกลุ่ม ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากกรณีศึกษาบทวิจัย หรือบทความวิชาการที่ได้รับมอบหมาย |
|
8-9 |
การรับรู้และแรงจูงใจ - แรงจูงใจทางสังคม - การให้รางวัลและการคล้อยตาม - ความเบี่ยงเบนและการลงโทษ |
6 |
|
บรรยาย เรื่อง การรับรู้และแรงจูงใจ ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากกรณีศึกษาใน YouTube |
|
10-11 |
ตัวตนและอัตลักษณ์ [สอนเป็นภาษาอังกฤษหนึ่งคาบ] - อัตลักษณ์ทางสังคม - การเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์ทางสังคม |
6 |
|
บรรยาย เรื่อง อัตลักษณ์ทางสังคม เป็นภาษาอังกฤษ ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียนผ่านกรณีศึกษา เกมส์ตอบคำถาม ผ่าน Kahoot ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน |
|
12-13 |
-จิตวิทยาสังคมว่าด้วยพฤติกรรมร่วม -ความขัดแย้งและสาเหตุของความขัดแย้ง -การยุติความขัดแย้ง |
6 |
|
บรรยาย เรื่อง พฤติกรรมร่วมในสังคม -ความขัดแย้งและสาเหตุ และการจัการความขัดแย้ง ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา -อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับกรณีศึกษา คลิป หรือยูทูป ที่เกี่ยวกับความขัดแย้งแล้วอภิปรายร่วมกัน -เกมส์ตอบคำถาม ผ่าน Kahoot |
|
14-15 | การนำเสนอของนักศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางสังคมที่อธิบายด้วยจิตวิทยาสังคม | 6 |
|
นักศึกษานำเสนอรายงานการศึกษาค้นคว้า ปรากฏการณ์ทางสังคมที่อธิบายด้วยจิตวิทยาสังคม อาจารย์นำอภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
งานกลุ่มรายงานการศึกษาค้นคว้า ปรากฏการณ์ทางสังคมที่อธิบายด้วยจิตวิทยาสังคม การเข้าร่วมนำเสนองานกลุ่มและการมีส่วนร่วมในการค้นคว้า |
|
30 | |
การเข้าชั้นเรียน |
|
5 | |
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน |
|
5 | |
สอบกลางภาค |
|
30 | |
สอบปลายภาค |
|
30 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | สิทธิโชค วรานุสันติกูล. (2548). จิตวิทยาสังคม: ทฤษฎีและการประยุกตร์. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
เอกสารประกอบการสอน | ไพรัช บวรสมพงษ์. (2553). จิตวิทยาสังคม. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | Burke, P. J. (ed.) (2006). Contemporary Social Psychological Theories. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
YouTube |
What is Social Psychology? Major Theories and Ideas https://www.youtube.com/watch?v=tcvouz1v12M |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Fiedler, K., & Salmen, K. (2021, June 28). Major Theories in Social Psychology. Oxford Research Encyclopedia of Psychology. Retrieved 13 Oct. 2023, from https://oxfordre.com/psychology/view/10.1093/acrefore/9780190236557.001.0001/acrefore-9780190236557-e-810. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | Sullivan, D. (2020). Social Psychological Theory as History: Outlining the Critical-Historical Approach to Theory. Personality and Social Psychology Review, 24(1), 78-99. https://doi.org/10.1177/1088868319883174 | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | Liang (Rebecca) Tang, (2014). The application of social psychology theories and concepts in hospitality and tourism studies: A review and research agenda International Journal of Hospitality Management, 36, 188-196, | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | Oren, Neta & Bar-Tal, Daniel. (2012). Collective identity and intractable conlict. Identity Process Theory: Identity, Social Action and Social Change. 222-252. 10.1017/CBO9781139136983.016. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | Bar-Tal, Daniel. (2011). Introduction: Conflicts and social psychology.. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | Stets, Jan & Burke, Peter. (2000). Identity Theory and Social Identity Theory. Social Psychology Quarterly. 63. 224. 10.2307/2695870. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | Stets, J. E., & Burke, P. J. (2000). Identity Theory and Social Identity Theory. Social Psychology Quarterly, 63(3), 224. https://doi.org/10.2307/2695870 | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Jan E. Stets and Peter J. Burke. (2014). THE DEVELOPMENT OF IDENTITY THEORY. Advances in Group Processes, 31, 57-97 |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ