Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS422108
ภาษาไทย
Thai name
ประชากรและสังคม
ภาษาอังกฤษ
English name
Population and Society
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ศาสตราจารย์ดุษฎี อายุวัฒน์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ศาสตราจารย์ดุษฎี อายุวัฒน์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีด้านการเปลี่ยนแปลงประชากร การเปลี่ยนแปลงประชากรและสังคม
    • ความสามารถวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
    • มีความตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • เพื่อให้นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์และให้เหตุผลถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      แนวคิดและทฤษฎีการเติบโตของประชากร ทฤษฎีของการเปลี่ยนแปลงประชากรและการพัฒนาเศรษฐกิจ ตัวกำหนดการเติบโตของประชากร ความสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับมิติอื่นๆ ได้แก่ เขตที่อยู่อาศัย ฐานะทางเศรษฐกิจ และเพศสภาพ ประเด็นด้านการเจริญพันธุ์และการสมรส การเจ็บป่วยและการตาย การเคลื่อนย้ายและการย้ายถิ่น
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Concepts and theories of population growth, theories of population change and economic development, determinants of population growth, population relation of to resident areas, economic status and gender, fertility and marriage, morbidity and mortality, and mobility and migration
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Problem-based learning
      • Project-based learning
      • Case discussion
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับประชากร
      - ประวัติความเป็นมาของการศึกษาเกี่ยวกับประชากร
      - ความหมายและขอบเขตของการศึกษาทางประชากร
      - ความสัมพันธ์ของการศึกษาประชากรกับสาขาวิชาต่างๆ
      - ประโยชน์ของความรู้เกี่ยวกับประชากร
      3
      • K1: ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีด้านการเปลี่ยนแปลงประชากร การเปลี่ยนแปลงประชากรและสังคม
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์และให้เหตุผลถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
      (1) พบนักศึกษา แจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และแนะนำการเรียนการสอน การประมวลผลรายวิชา การส่งงานผ่านระบบออนไลน์ และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT
      (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและจับคู่ทำงาน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา


      2-3 บทที่ 2 ทฤษฎีของการเปลี่ยนแปลงประชากรและการพัฒนาเศรษฐกิจ
      - แนวความคิดและทฤษฎีของการเปลี่ยนแปลงประชากรและการพัฒนาเศรษฐกิจ
      - ทฤษฎีประชากรที่สำคัญ
      6
      • K1: ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีด้านการเปลี่ยนแปลงประชากร การเปลี่ยนแปลงประชากรและสังคม
      • K2: ความสามารถวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • K3: มีความตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์และให้เหตุผลถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      (1) พบนักศึกษา เพื่อทบทวนเนื้อหาบทเรียนครั้งก่อน
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT
      (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดวิเคราะห์และเปรียบเทียบข้อแตกต่างของฐานคิดของทฤษฎี
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา
      4 บทที่ 3 ตัวกำหนดการเติบโตของประชากร
      - ตัวกำหนดการเติบโตทางประชากรในรูปแบบอัตราและอัตราส่วน
      - โครงสร้างเพศและอายุ
      3
      • K1: ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีด้านการเปลี่ยนแปลงประชากร การเปลี่ยนแปลงประชากรและสังคม
      • K2: ความสามารถวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์และให้เหตุผลถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
      (1) พบนักศึกษา เพื่อทบทวนเนื้อหาบทเรียนครั้งก่อน
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT
      (3) ให้นักศึกษาอภิปรายถึงการเปลี่ยนแปลง โดยใช้ข้อมูลประชากรของประเทศ
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา
      5-6 บทที่ 4 ประชากรและความสัมพันธ์กับมิติทางสังคม
      - ความสัมพันธ์ของประชากรกับมิติทางสังคม ได้แก่ เพศสภาพ การศึกษา เขตที่อยู่อาศัยและค่านิยมของสังคม
      6
      • K1: ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีด้านการเปลี่ยนแปลงประชากร การเปลี่ยนแปลงประชากรและสังคม
      • K2: ความสามารถวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • K3: มีความตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์และให้เหตุผลถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
      (1) พบนักศึกษา เพื่อทบทวนเนื้อหาบทเรียนครั้งก่อน
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT
      (3) ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มอภิปรายเกี่ยวกับกรณีศึกษา
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา
      7-8 บทที่ 5 ประชากรและความสัมพันธ์กับมิติทางเศรษฐกิจ
      - ความสัมพันธ์ของประชากรกับมิติทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ฐานะทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ฐานะทางเศรษฐกิจ การใช้กำลังแรงงานในภาคการผลิต การพัฒนาอุตสาหกรรมและวงจรเศรษฐกิจ
      6
      • K1: ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีด้านการเปลี่ยนแปลงประชากร การเปลี่ยนแปลงประชากรและสังคม
      • K2: ความสามารถวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • K3: มีความตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์และให้เหตุผลถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
      (1) พบนักศึกษา เพื่อทบทวนเนื้อหาบทเรียนครั้งก่อน
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT
      (3) ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มอภิปรายเกี่ยวกับกรณีศึกษา
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา

      9-10 บทที่ 6 การเจริญพันธุ์และการสมรส
      - ความคิดรวบยอดของคำที่เกี่ยวข้องกับภาวะเจริญพันธุ์
      - ดัชนีที่ใช้วัดภาวะเจริญพันธุ์
      - ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อเจริญพันธุ์
      - ผลกระทบของการพัฒนาที่มีต่อภาวะเจริญพันธุ์
      - แนวโน้มของภาวะเจริญพันธุ์
      - ภาวะเจริญพันธุ์ของประเทศไทย
      - ภาวะสมรส
      6
      • K1: ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีด้านการเปลี่ยนแปลงประชากร การเปลี่ยนแปลงประชากรและสังคม
      • K2: ความสามารถวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • K3: มีความตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์และให้เหตุผลถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
      (1) พบนักศึกษา เพื่อทบทวนเนื้อหาบทเรียนครั้งก่อน
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT
      (3) ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มอภิปรายเกี่ยวกับกรณีศึกษา เรื่อง แต่งงานหรืออยู่เป็นโสด ดีกว่ากัน ?
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา

      11-12 บทที่ 7 การเจ็บป่วยและการตาย
      - ความคิดรวบยอดของศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วยและการตาย การเจ็บป่วยของมนุษย์
      - ประเภทและสาเหตุการตาย ดัชนีที่ใช้วัดภาวการณ์ตาย
      - ผลกระทบของการพัฒนาที่มีต่อการตาย
      - การเปลี่ยนแปลงภาวะการตายในประเทศพัฒนาและด้อยพัฒนา
      6
      • K1: ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีด้านการเปลี่ยนแปลงประชากร การเปลี่ยนแปลงประชากรและสังคม
      • K2: ความสามารถวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • K3: มีความตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์และให้เหตุผลถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
      (1) พบนักศึกษาเพื่อทบทวนเนื้อหาบทเรียนครั้งก่อน
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT
      (3) ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มอภิปรายเกี่ยวกับกรณีศึกษา เรื่อง สถิติและสถานการณ์การเจ็บป่วยและการตายของโรค COVID-19
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา

      13-15 บทที่ 8 การเคลื่อนย้ายและการย้ายถิ่น
      - ความคิดรวบยอดของศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการย้ายถิ่น
      - ประเภทของการย้ายถิ่น
      - ความสำคัญของการย้ายถิ่น
      - ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการย้ายถิ่น
      - คุณลักษณะของผู้ย้ายถิ่น
      - ผลกระทบของการพัฒนาต่อการย้ายถิ่น
      - แนวโน้มการย้ายถิ่นในประเทศไทยและประชาคมอาเซียน
      9
      • K1: ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีด้านการเปลี่ยนแปลงประชากร การเปลี่ยนแปลงประชากรและสังคม
      • K2: ความสามารถวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • K3: มีความตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์และให้เหตุผลถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
      (1) พบนักศึกษา เพื่อทบทวนเนื้อหาบทเรียนครั้งก่อน
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT
      (3) ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มอภิปรายเกี่ยวกับกรณีศึกษา เรื่อง ผลกระทบของการย้ายถิ่นไปทำงานต่างประเทศ ที่มีต่อแรงงาน คู่สมรส ลูก ครัวเรือน และชุมชน ในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคม
      (4) กิจกรรม ดูวิดีโอเกี่ยวกับการย้ายถิ่นของแรงงานไปทำงานต่างประเทศ
      (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา

      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      สอบปลายภาค
      • K1: ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีด้านการเปลี่ยนแปลงประชากร การเปลี่ยนแปลงประชากรและสังคม
      • K2: ความสามารถวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • K3: มีความตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์และให้เหตุผลถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
      40
      แบบฝึกหัดท้ายบท
      • K1: ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีด้านการเปลี่ยนแปลงประชากร การเปลี่ยนแปลงประชากรและสังคม
      • K2: ความสามารถวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • K3: มีความตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์และให้เหตุผลถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
      10 ส่งงาน 1-15
      รายงานการวิเคราะห์ครัวเรือน และปิรามิดประชากร
      • K1: ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีด้านการเปลี่ยนแปลงประชากร การเปลี่ยนแปลงประชากรและสังคม
      • K2: ความสามารถวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • K3: มีความตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์และให้เหตุผลถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
      45 ส่งงาน 5, 15
      การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
      • K1: ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีด้านการเปลี่ยนแปลงประชากร การเปลี่ยนแปลงประชากรและสังคม
      • K2: ความสามารถวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • K3: มีความตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์และให้เหตุผลถึงการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในด้านต่างๆ
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
      5 สัปดาห์ที่ 1-15
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา ดุษฎี อายุวัฒน์. (2558). ประชากรและสังคม. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
      หนังสือ หรือ ตำรา ดุษฎี อายุวัฒน์. (2562). คนอีสานย้ายถิ่น: สถานการณ์และผลกระทบ. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
      หนังสือ หรือ ตำรา ดุษฎี อายุวัฒน์. (2562). ศาสตร์และวิธีวิทยาการศึกษาการย้ายถิ่นของประชากร. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
      หนังสือ หรือ ตำรา นิพนธ์ เทพวัลย์. (2539). ประชากรศาสตร์. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
      หนังสือ หรือ ตำรา เทียนฉาย กีระนันท์. (2536). เศรษฐศาสตร์ประชากร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      หนังสือ หรือ ตำรา บุญเลิศ เลียวประไพ. (2539). ระเบียบวิธีทางประชากรศาสตร์. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล.
      หนังสือ หรือ ตำรา Bogue, D.J. (1969). Principles of Demography. New York : John Willey and Sons.
      หนังสือ หรือ ตำรา Coale, A.J. (1975). "The Demographic Transition", In The Population Debate : Dimensions and Perspectives. Vol1. New York : United Nations.
      หนังสือ หรือ ตำรา Petersen, W. (1969). Population. New York : McGraw - Hill book Company.
      หนังสือ หรือ ตำรา Shryock, H.S., et al. (1971). The Methods and Materials of Demography. Washington D.C.: US. Bureau of the Census, U.S. Government Printing Office.
      หนังสือ หรือ ตำรา ภัสสร ลิมานนท์ และคณะ. (2539). สรปุผลวิจัยเบื้องต้น โครงการศึกษาครอบครัวไทย. สถาบันประกรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      หนังสือ หรือ ตำรา รุจา ภู่ไพบูลย์ และนิตยา คชภักดี. (2539). การเปลี่ยนแปลงลักษณะครอบครัวไทย : ผลกระทบต่อความผาสุกของครอบครัว เอกสารประกอบการสัมมนาวิจัย เรื่อง ครอบครัวศึกษา : การวิจัยเพื่อความผาสุกของครอบครัวไทย. ภายใต้การสนับสนุนของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 1 พฤศจิกายน 2539 ณ โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพมหานคร.
      หนังสือ หรือ ตำรา _______ , จริยา วิทยะศุภร และศิริวรรณ ไกรสุรพงศ์. (2542). ผลกระทบของภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ต่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว และความต้องการความช่วยเหลือ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
      หนังสือ หรือ ตำรา สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. (2550). ประชุมวิชาการประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล.
      หนังสือ หรือ ตำรา สมาคมนักประชากรไทย. (2559). การประชุมวิชาการประชากรศาสตร์แห่งชาติ 2559. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.
      หนังสือ หรือ ตำรา สำนักงานสถิติแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2544). สำมะโนประชากรและเคหะ 2543. กรุงเทพฯ : สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
      หนังสือ หรือ ตำรา Pol, L.G. (2013). The demography of health and health care. New York : Springer.
      หนังสือ หรือ ตำรา The Population Reference Bureau. (2006). World Population Date Sheet. Washington, D.C.: The Population Reference Bureau.
      หนังสือ หรือ ตำรา Todaro, Michael P. (1985). Economic Development in the Third World. New York : Alpine Press.
      หนังสือ หรือ ตำรา United Nations. (1973). The Determinants and Consequences of Population Trends. New York : United Nations.
      หนังสือ หรือ ตำรา United Nations. (2000). ESCAP Population and development programme. Bangkok : United Nations Popultion and rural and Urban Development Division.
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

      1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
      1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
      1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
      1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

      2. ด้านความรู้
      2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
      2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
      2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

      3. ด้านทักษะทางปัญญา
      3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
      3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

      4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
      4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

      5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ