Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS423203
ภาษาไทย
Thai name
มานุษยวิทยาประยุกต์
ภาษาอังกฤษ
English name
Applied Anthropology
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2567)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมใจ ศรีหล้า
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมใจ ศรีหล้า
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้หลักการ วิธีการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในการทำงานเชิงประยุกต์ของนักมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆในบทบาทการทำงานของนักมานุษยวิทยา รวมถึงการทำงานกับศาสตร์สาขาต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆในสังคม เพื่อนำไปสู่การทำงานเพื่อแก้ปัญหา
จริยธรรม
Ethics
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทาง วิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณื ในแต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาไปประยุกต์ใช้ในการอธิบาย
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ขอบข่ายและความหมายของมานุษยวิทยาประยุกต์ พัฒนาการของมานุษยวิทยาในสังคมไทยและสังคมโลก หลักการในการประยุกต์มานุษยวิทยา ในการทำงานกับกลุ่มวัฒนธรรมต่าง ๆ กรณีศึกษาในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ บทบาทของมานุษยวิทยาประยุกต์ในปัจจุบัน มานุษยวิทยากับการพัฒนาและการแก้ปัญหาสังคม
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Scope and meaning of applied anthropology, development of applied anthropology in Thai society and in the world society, principle of applied anthropology in working with various cultural groups, case studies from Thailand and other countries, role of applied anthropology in the present, anthropology in social development and problem solvings
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Project-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 ความหมายและขอบข่ายมานุษยวิทยาของมานุษยวิทยาประยุกต์
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้หลักการ วิธีการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทาง วิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google classroom ชี้แจงและแจกแผนการสอน อธิบายวิธีการสอน เนื้อหาที่สอน เอกสารตำราและสื่อประกอบการสอน การประมวลผลรายวิชา การส่งงานผ่านระบบออนไลน์และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา
    2) การบรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อกี่ยวกับขอบข่ายมานุษยวิทยา ประยุกต์
    3) ให้นักศึกษาจับคู่อภิปรายความแตกต่างของมานุษยวิทยาและมานุษยวิทยาประยุกต์
    4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน

    3-4 การประยุกต์ใช้วิธีการ หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางมานุษยวิทยา
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้หลักการ วิธีการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในการทำงานเชิงประยุกต์ของนักมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆในบทบาทการทำงานของนักมานุษยวิทยา รวมถึงการทำงานกับศาสตร์สาขาต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทาง วิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณื ในแต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) มอบหมายให้นักศึกษาทบทวนความรู้ทางมานุษยวิทยาวัฒนธรรมที่เรียนมา(ล่วงหน้า)เพื่อนำมาอธิบายปรากฎการณ์จากตัวอย่างสื่อที่ให้ชม ให้นักศึกษาชมสื่อกี่ยวกับตัวอย่างการประยุกต์ใช้ความรู้ หลักการทางมานุษยวิทยาในการแก้ปัญหาผ่านโปรแกรม Google classroom
    2) ให้นักศึกษาจับคู่เพื่ออธิบายการประยุกต์ใช้ความรู้ในการทำงานเพื่อแก้ปัญหาจากตัวอย่างที่ชม
    3) วัดความเข้าใจจากนำเสนอของนักศึกษา
    4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน



    5 จรรยาบรรณและพัฒนาการในเรื่องจรรยาบรรณของนักมานุษยวิทยาประยุกต์
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้หลักการ วิธีการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทาง วิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อกี่ยวกับวิวัฒนาการของมนุษย์และเชื้อชาติ ผ่านโปรแกรม Google classroom
    2) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน

    6-7 จรรยาบรรณและพัฒนาการในเรื่องจรรยาบรรณของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้หลักการ วิธีการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในการทำงานเชิงประยุกต์ของนักมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆในบทบาทการทำงานของนักมานุษยวิทยา รวมถึงการทำงานกับศาสตร์สาขาต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทาง วิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณื ในแต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อกี่ยวกับตัวอย่างการทำความเข้าใจเรื่องวัฒนธรรม
    ผ่านโปรแกรม Google classroom
    2) มอบหมายให้นักศึกษาจับคู่ศึกษาตัวอย่างการทำงานของนักมานูษยวิทยาในการแก้ปัญหา
    เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ จรรยาบรรณในการทำงานของนักมานุษยวิทยาประยุกต์
    3) วัดความเข้าใจจากการที่นักศึกษนำเสนอและอภิปราย
    4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน
    8-9 การวิจัยเชิงประยุกต์กับการทำงานของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้หลักการ วิธีการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในการทำงานเชิงประยุกต์ของนักมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆในบทบาทการทำงานของนักมานุษยวิทยา รวมถึงการทำงานกับศาสตร์สาขาต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทาง วิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณื ในแต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) บรรยายโดยใช้ ppt. ผ่านโปรแกรม Google classroom และให้ชมสื่อเกี่ยวกับการใช้การวิจัยประยุกต์ในการทำงานเพื่อแก้ปัญหา
    2) ให้นักศึกษาจับคู่ค้นคว้าเอกสารทำรายงานเกี่ยวกับการวิจัยประยุกต์ในการทำงานเพื่อแก้ปัญหา
    3) วัดความเข้าใจจากตัวอย่างในการศึกษา
    4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน

    10-11 บทบาทของนักมานุษยวิทยาประยุกต์มนุษย์ในการทำงานเพื่อแก้ปัญหา 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้หลักการ วิธีการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในการทำงานเชิงประยุกต์ของนักมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆในบทบาทการทำงานของนักมานุษยวิทยา รวมถึงการทำงานกับศาสตร์สาขาต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆในสังคม เพื่อนำไปสู่การทำงานเพื่อแก้ปัญหา
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทาง วิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณื ในแต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อกี่ยวกับบทบาทของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ ผ่านโปรแกรม Google classroom
    2) มอบหมายให้จับกลุ่มค้นคว้า เพื่อทำรายงานเกี่ยวกับบทบาทของนักมานุษยวิทยาประยุกต์
    3) วัดความเข้าใจจากการนำเสนอและการทำรายงาน
    4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน
    12-14 การทำงานด้านต่างๆของนักมานุษยวิทยาประยุกต์
    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้หลักการ วิธีการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในการทำงานเชิงประยุกต์ของนักมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆในบทบาทการทำงานของนักมานุษยวิทยา รวมถึงการทำงานกับศาสตร์สาขาต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆในสังคม เพื่อนำไปสู่การทำงานเพื่อแก้ปัญหา
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทาง วิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณื ในแต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาไปประยุกต์ใช้ในการอธิบาย
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อกี่ยวกับการทำงาน ด้านต่างๆของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ ผ่านโปรแกรม Google classroom
    2) มอบหมายให้นักศึกษาทำรายงานเกี่ยวกับการทำงานด้านต่างๆของนักมานุษยวิทยาประยุกต์
    3) วัดความเข้าใจจากการนำเสนอและทำรายงาน
    4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน
    15 มานุษยวิทยากับการเข้าสู่วิชาชีพ 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้หลักการ วิธีการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในการทำงานเชิงประยุกต์ของนักมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆในบทบาทการทำงานของนักมานุษยวิทยา รวมถึงการทำงานกับศาสตร์สาขาต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆในสังคม เพื่อนำไปสู่การทำงานเพื่อแก้ปัญหา
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทาง วิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณื ในแต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) บรรยายโดยใช้ ppt. ผ่านโปรแกรม Google classroom
    2) วัดความเข้าใจจากการทำแบบฝึกหัด
    3) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน

    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    สอบกลางภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้หลักการ วิธีการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในการทำงานเชิงประยุกต์ของนักมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆในบทบาทการทำงานของนักมานุษยวิทยา รวมถึงการทำงานกับศาสตร์สาขาต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆในสังคม เพื่อนำไปสู่การทำงานเพื่อแก้ปัญหา
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทาง วิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณื ในแต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาไปประยุกต์ใช้ในการอธิบาย
    • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    25 ตามปฏิทินมหาวิทยาลัยกำหนด
    สอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้หลักการ วิธีการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในการทำงานเชิงประยุกต์ของนักมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆในบทบาทการทำงานของนักมานุษยวิทยา รวมถึงการทำงานกับศาสตร์สาขาต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆในสังคม เพื่อนำไปสู่การทำงานเพื่อแก้ปัญหา
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทาง วิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณื ในแต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาไปประยุกต์ใช้ในการอธิบาย
    • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    25 ตามปฏิทินมหาวิทยาลัยกำหนด
    รายงาน ค้นคว้าทฤษฎี
    - การประยุกต์ใช้หลักการ แนวคิด ทฤษฎี วิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา
    - จรรยาบรรณของนักมานุษยวิทยาประยุกต์
    - บทบาทของนักมานุษยวิทยาประยุกต์
    - การทำงานด้านต่างๆและการใช้การวิจัยเชิงประยุกต์ของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ในการทำงาน
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้หลักการ วิธีการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในการทำงานเชิงประยุกต์ของนักมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆในบทบาทการทำงานของนักมานุษยวิทยา รวมถึงการทำงานกับศาสตร์สาขาต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆในสังคม เพื่อนำไปสู่การทำงานเพื่อแก้ปัญหา
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทาง วิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณื ในแต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาไปประยุกต์ใช้ในการอธิบาย
    • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    50
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา สมใจ ศรีหล้า.2560. เอกสารประกอบการสอน วิชา 415 228 มานุษยวิทยาประยุกต์ บทที่1. สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ www.sac.or.th หัวข้อ มานุษยวิทยากับการทำงานด้านต่างๆ
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ www.lc.mahidol.ac.th/th/ หัวข้อ โครงการจัดการศึกษาแบบทวิต่างๆ ของสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมแห่งอาเซียน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?reload=9&v=TUQdHJEBY7M หัวข้อ การประยุกต์ใช้แนวคิด เทคนิควิธีการทางมานุษยวิทยาในการแก้ไขปัญหา
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ครรชิต พุทโกษา. 2554. คู่มือการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : ส านักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาต
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ จุมพล พูลภัทรชีวิน. 2559. การวิจัยเชิงอนาคต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ฐานิดา บุญวรรโณ. “จริยธรรมในชาติพันธุ์วรรณนา: จอร์จ กองโดมินาสกับบทเรียนจาก พวกเรากินป่า” ว.เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์ ปีที4 ฉบับบทึ่7 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558) 133-148
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ นฤพล ด้วงวิเศษ. ม.ป.ป. การจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2558, จาก http://www.sac.or.th/databases/anthropology-concepts/glossary/29\
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ มานุษยวิทยาปฏิบัติการ. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2557, จาก http://e-book. Ram .edu/e- book/ htm Anthropology News. January 2006 vol 47 no. 1, book online
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ สฤษดิ์ สืบพงษ์ศิริ. (2560). บทบาทของงานนิติโบราณคดีและนิติมานุษยวิทยาในการสืบสวนอาชญากรรม , วิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยต ารวจ, 3(1). 23-37.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ สัญญา สัญญาวิวัฒน์. 2551. "สังคมวิทยาในประเทศไทย" ใน 60 ปี รัฐศาสตร์ จุฬาฯ, ประทุมพร วัชร เสถียร (บก.). กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Danis Alexandra. 2012 แปลและสรุปใจความโดยชีวสิทธิ์ บุญเกียรติ . การบรรยาย 15: วิธีการและเครื่องมือทางมานุษยวิทยาเบื้องต้นที่ใช้ใน การศึกษามรดกทางภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรไท้
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Ervin, Alexander M. 2005. Applied Anthropology: Tools and Perspectives for Contemporary Practice .New York.Pearson Education Inc.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Van Willigen, John .
    2002. Applied Anthropology ; An Introuction.Third Ediion. Wesport. Bergin and Garvey.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Ferraro, Garry. 2008. Cultural Anthropology. Seventh Edition. United State. Thomson Wordsworth. Griffith,
    David, Jeffrey C. Johnson, Jeanne Simonelli, Bill Roberts, and James Wallace eds. “Mission statement”. Society for Applied Anthropology, 2008. Retrieved on 3 February 2008 from http://www.sfaa.net/
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Harris, Marwin and Orna, Johnson. 2003. Cultural Anthropology. Sixth edition. New York. Pearson Education Inc.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Raymond, Scupin and Christopher R. Decorse. 2001.Anthropology :A Glibal Perspective New Jersey. Prentice Hall.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Sillitoe, Paul. The search for Relevance: A brief History of Applied Anthropology. “History and Anthropology”, vol. 17, 1 (March 2006)1-19. The Mc-Graw-Hill Companies-Inc.,2008. Applied Anthropology U.S.A . The Mc-Graw-Hill Companies-Inc.,
    หนังสือ หรือ ตำรา ไท้ นนทจันทร์.2542. มานุษยวิทยาประยุกต์. กรุงเทพฯ บริษัทรวมสาส์น.
    หนังสือ หรือ ตำรา ณรงค์ เส็งประชา.2541. มานุษยวิทยาประยุกต์ในการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา นิยะพรรณ วรรณะศิริ.2540. มานุษยวิทยาสังคมและวัฒนธรรม.พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา ปาริชาติ วลัยเสถียร.2543.กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. กรุงเทพฯ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.คณะเกษตรศาสตร์.โครงการวิจัยระบบการทำฟาร์ม.2530. คู่มือการประเมิณสภาวะชนบทอย่างเร่งด่วน. ขอนแก่น.โครงการวิจัยระบบการทำฟาร์ม คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Ervin, Alexander M. 2005. Applied Anthropology: Tools and Perspectives for Contemporary Practice. New York.Pearson Education Inc.
    หนังสือ หรือ ตำรา Van Willigen, John .2002. Applied Anthropology ; An Introuction.Third Ediion. Wesport CT. Bergin and Garvey.
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ