Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2568
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS423409
ภาษาไทย
Thai name
สังคมวิทยาความตาย
ภาษาอังกฤษ
English name
Sociology of Death
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดและทฤษฎีหลักทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวข้องกับความตาย
    • นักศึกษาเข้าใจบริบทเฉพาะของความตายในสังคมไทย และเปรียบเทียบมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
    • นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • นักศึกษาเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรมในมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตาย
    • นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือทางสังคมวิทยาในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์เกี่ยวกับความตาย
    • นักศึกษาสื่อสารประเด็นที่ละเอียดอ่อนเกี่ยวกับความตายอย่างมีวิจารณญาณในสื่อและวัฒนธรรมร่วมสมัย
    • นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงประเด็นความตายกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นความตาย
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • นักศึกษาสามารถสะท้อนคิดเกี่ยวกับความตายและเชื่อมโยงการศึกษาความตายกับการพัฒนาปรัชญาชีวิตส่วนบุคคล
    • นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความตายในมุมมองทางสังคมวิทยา ความคิดและความเชื่อเกี่ยวกับความตาย
    และโลกหลังความตายในวัฒนธรรมที่หลากหลาย ธรรมเนียมและการจัดพิธีศพในวัฒนธรรม
    ที่หลากหลาย ผลกระทบของความตายที่มีต่อสังคม ข้อถกเถียงทางศีลธรรมต่อความตาย
    ในรูปแบบต่าง ๆ
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Death in sociological perspectives; various views and beliefs on death
    and afterlife in different cultures; various traditions and funerals in different
    cultures; social impacts on death; moral debates on different types of death.
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Research-based learning
    • Problem-based learning
    • Project-based learning
    • Community based learning
    • Flipped classroom
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 บทที่ 1: บทนำสู่สังคมวิทยาความตาย
    - แนะนำรายวิชา วัตถุประสงค์ และการประเมินผล
    - ความสำคัญของการศึกษาความตายในมุมมองทางสังคมวิทยา
    - ประวัติความเป็นมาของสังคมวิทยาความตาย (Sociology of Death)
    - มโนทัศน์พื้นฐานและขอบเขตการศึกษา
    3
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดและทฤษฎีหลักทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวข้องกับความตาย
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือทางสังคมวิทยาในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์เกี่ยวกับความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    1) แจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และการส่งงานผ่าน Google Classroom
    2) แนะนำการเรียนการสอน การประมวลผลรายวิชา และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา
    3) บรรยายพร้อมเอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint/Canva/ สื่อ
    4) การอภิปรายกลุ่ม: กิจกรรม: อภิปรายกลุ่มเกี่ยวกับความหมายของความตายในมุมมองของนักศึกษา
    5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    2 บทที่ 2: แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาเกี่ยวกับความตาย
    - ทฤษฎีทางสังคมวิทยาคลาสสิกที่เกี่ยวข้องกับ ความตาย (Durkheim, Weber, Marx)
    - แนวคิดเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของความตายในโลกตะวันตก
    - ทฤษฎีของเกี่ยวกับขั้นตอนของความตาย
    - แนวคิดเรื่องความตายในทฤษฎีหลังสมัยใหม่
    3
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดและทฤษฎีหลักทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวข้องกับความตาย
    • K3: นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือทางสังคมวิทยาในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์เกี่ยวกับความตาย
    • S3: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงประเด็นความตายกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    1) บรรยายพร้อมเอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหา
    2) กิจกรรม: วิเคราะห์กรณีศึกษาโดยใช้ทฤษฎีที่เรียน
    3) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    3-4-5 บทที่ 3: ความตายในมิติทางวัฒนธรรม
    + ความตายในวัฒนธรรมตะวันตก: ประวัติศาสตร์และการเปลี่ยนแปลง
    - ศาสนาคริสต์กับความตาย: ความเชื่อ พิธีกรรม และการปฏิบัติ
    - การแสดงความเศร้าโศกและพิธีศพในวัฒนธรรมตะวันตก
    + ความตายในวัฒนธรรมตะวันออกกลาง: มุมมองจากอิสลาม
    - การเตรียมตัวตายและวิถีปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในประเทศแถบมุสลิม
    - เปรียบเทียบพิธีศพและการไว้ทุกข์ในวัฒนธรรมต่างๆ
    + ความตายในวัฒนธรรมตะวันออก: มุมมองจากพุทธศาสนา ฮินดู และขงจื๊อ
    - การเตรียมตัวตายและวิถีปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในประเทศแถบเอเชีย
    - เปรียบเทียบพิธีศพและการไว้ทุกข์ในวัฒนธรรมต่างๆ
    9
    • K2: นักศึกษาเข้าใจบริบทเฉพาะของความตายในสังคมไทย และเปรียบเทียบมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
    • K3: นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    • S2: นักศึกษาสื่อสารประเด็นที่ละเอียดอ่อนเกี่ยวกับความตายอย่างมีวิจารณญาณในสื่อและวัฒนธรรมร่วมสมัย
    • S3: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงประเด็นความตายกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • E2: นักศึกษาเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรมในมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตาย
    • E3: นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • C2: นักศึกษาสามารถสะท้อนคิดเกี่ยวกับความตายและเชื่อมโยงการศึกษาความตายกับการพัฒนาปรัชญาชีวิตส่วนบุคคล
    • C3: นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    1) บรรยายพร้อมเอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหา
    2) กิจกรรมเรียนรู้นอกห้องเรียนกับ
    2.1) อาจารย์พิเศษจาก สมาคมนักศึกษาคริสเตียนไทย
    2.2) อาจารย์พิเศษจาก สยิดนูรุ้ลฮิดายะฮ์ ไทย-ปากีสตาน จังหวัดขอนแก่น
    2.3) อาจารย์พิเศษจาก วัดสว่างสุท ธาราม บ้านหนองกุง ตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
    3) อาจารย์และอาจารย์พิเศษตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    6 บทที่ 4: ความตายในสังคมไทย
    - ประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของความเชื่อเกี่ยวกับความตายในสังคมไทย
    - พิธีกรรมทางพุทธศาสนาเกี่ยวกับความตายและงานศพ
    - ความเชื่อพื้นบ้านและการผสมผสานความเชื่อเกี่ยวกับความตายในสังคมไทย
    - การเปลี่ยนแปลงของพิธีศพในสังคมไทยร่วมสมัย
    3
    • K2: นักศึกษาเข้าใจบริบทเฉพาะของความตายในสังคมไทย และเปรียบเทียบมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
    • K3: นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    • S2: นักศึกษาสื่อสารประเด็นที่ละเอียดอ่อนเกี่ยวกับความตายอย่างมีวิจารณญาณในสื่อและวัฒนธรรมร่วมสมัย
    • S3: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงประเด็นความตายกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • E2: นักศึกษาเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรมในมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตาย
    • E3: นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • C2: นักศึกษาสามารถสะท้อนคิดเกี่ยวกับความตายและเชื่อมโยงการศึกษาความตายกับการพัฒนาปรัชญาชีวิตส่วนบุคคล
    • C3: นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    1) บรรยายพร้อมเอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหา
    2) ) กิจกรรมเรียนรู้นอกห้องเรียนกับ อาจารย์พิเศษจาก วัดสว่างสุท ธาราม บ้านหนองกุง ตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
    3) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    4) ใบงาน: สัมภาษณ์ผู้สูงอายุในครอบครัวเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของพิธีศพที่พบเห็น
    7 บทที่ 5: ความตายในยุคสมัยใหม่
    - การแพทย์กับความตาย: การกำหนดนิยามและการวินิจฉัยความตาย
    - อัตราการตายและปัจจัยทางสังคมเศรษฐกิจ
    - การเข้าถึงการดูแลระยะสุดท้าย (End-of-life Care)
    - การปฏิเสธความตายในสังคมสมัยใหม่ (Death denial)
    - ความตายในโรงพยาบาลและการแพทย์แผนใหม่
    3
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดและทฤษฎีหลักทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวข้องกับความตาย
    • K3: นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือทางสังคมวิทยาในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์เกี่ยวกับความตาย
    • S2: นักศึกษาสื่อสารประเด็นที่ละเอียดอ่อนเกี่ยวกับความตายอย่างมีวิจารณญาณในสื่อและวัฒนธรรมร่วมสมัย
    • S3: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงประเด็นความตายกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • E2: นักศึกษาเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรมในมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตาย
    • E3: นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • C2: นักศึกษาสามารถสะท้อนคิดเกี่ยวกับความตายและเชื่อมโยงการศึกษาความตายกับการพัฒนาปรัชญาชีวิตส่วนบุคคล
    • C3: นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    1) บรรยายพร้อมเอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหา
    2) กิจกรรมเรียนรู้นอกห้องเรียนหัวข้อ“การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในโรงพยาบาลศรีนครินทร์” ของศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
    3) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    8 บทที่ 6: ประเด็นทางจริยธรรมเกี่ยวกับความตาย
    - การุณยฆาต (euthanasia) และการช่วยเหลือให้ยุติชีวิต (assisted suicide)
    - การดูแลแบบประคับประคอง (palliative care)
    - สิทธิที่จะตาย (right to die) และการวางแผนการดูแลล่วงหน้า (advance care planning)
    - จริยธรรมทางการแพทย์เกี่ยวกับการยืดชีวิตและการรักษาในวาระสุดท้าย
    3
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดและทฤษฎีหลักทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวข้องกับความตาย
    • K3: นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือทางสังคมวิทยาในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์เกี่ยวกับความตาย
    • S2: นักศึกษาสื่อสารประเด็นที่ละเอียดอ่อนเกี่ยวกับความตายอย่างมีวิจารณญาณในสื่อและวัฒนธรรมร่วมสมัย
    • S3: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงประเด็นความตายกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • E2: นักศึกษาเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรมในมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตาย
    • E3: นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • C2: นักศึกษาสามารถสะท้อนคิดเกี่ยวกับความตายและเชื่อมโยงการศึกษาความตายกับการพัฒนาปรัชญาชีวิตส่วนบุคคล
    • C3: นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    1) บรรยายพร้อมเอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหา
    2) กิจกรรม: การโต้วาทีเกี่ยวกับประเด็นการุณยฆาต
    3) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    9 บทที่ 7: การเยียวยาความเศร้าโศก
    - ทฤษฎีเกี่ยวกับความเศร้าโศกและการสูญเสีย
    - กระบวนการเยียวยาความเศร้าโศกในมิติทางสังคมและวัฒนธรรม
    - การสนับสนุนทางสังคมและเครือข่ายช่วยเหลือผู้สูญเสีย
    - ความแตกต่างทางวัฒนธรรมในการจัดการความเศร้าโศก
    3
    • K2: นักศึกษาเข้าใจบริบทเฉพาะของความตายในสังคมไทย และเปรียบเทียบมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือทางสังคมวิทยาในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์เกี่ยวกับความตาย
    • S2: นักศึกษาสื่อสารประเด็นที่ละเอียดอ่อนเกี่ยวกับความตายอย่างมีวิจารณญาณในสื่อและวัฒนธรรมร่วมสมัย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • E2: นักศึกษาเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรมในมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตาย
    • E3: นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • C3: นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    1) บรรยายพร้อมเอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหา
    2) กิจกรรม: จำลองกลุ่มสนับสนุนผู้สูญเสีย (Grief Support Group)
    3) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    10 บทที่ 8: ความตายและสื่อสมัยใหม่
    - การนำเสนอความตายในสื่อมวลชน
    - ความตายในโลกดิจิทัลและโซเชียลมีเดีย
    - การไว้ทุกข์ออนไลน์และความทรงจำดิจิทัล (Digital Memorials)
    - ผลกระทบของการนำเสนอความตายในสื่อต่อทัศนคติของสังคม
    3
    • K2: นักศึกษาเข้าใจบริบทเฉพาะของความตายในสังคมไทย และเปรียบเทียบมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
    • K3: นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    • S2: นักศึกษาสื่อสารประเด็นที่ละเอียดอ่อนเกี่ยวกับความตายอย่างมีวิจารณญาณในสื่อและวัฒนธรรมร่วมสมัย
    • S3: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงประเด็นความตายกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • E2: นักศึกษาเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรมในมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตาย
    • E3: นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • C2: นักศึกษาสามารถสะท้อนคิดเกี่ยวกับความตายและเชื่อมโยงการศึกษาความตายกับการพัฒนาปรัชญาชีวิตส่วนบุคคล
    • C3: นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    1) บรรยายพร้อมเอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหา
    2) กิจกรรม: วิเคราะห์การนำเสนอข่าวเกี่ยวกับความตายในสื่อออนไลน์
    3) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    11 บทที่ 9: ความตายทางสังคม
    - แนวคิดเรื่องความตายทางสังคม (Social Death)
    - ความตายทางสังคมในกลุ่มคนชายขอบ
    - ความตายทางสังคมของผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    - การตีตราและการกีดกันทางสังคม
    - ความตายในประเทศกำลังพัฒนาและประเทศพัฒนาแล้ว
    - การปกปิดและซ่อนเร้นความตายในสังคมเมือง
    3
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดและทฤษฎีหลักทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวข้องกับความตาย
    • K3: นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือทางสังคมวิทยาในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์เกี่ยวกับความตาย
    • S2: นักศึกษาสื่อสารประเด็นที่ละเอียดอ่อนเกี่ยวกับความตายอย่างมีวิจารณญาณในสื่อและวัฒนธรรมร่วมสมัย
    • S3: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงประเด็นความตายกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • E3: นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • C3: นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    1) บรรยายพร้อมเอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหา
    2) กิจกรรมเรียนรู้นอกห้องเรียนหัวข้อ โครงการ "นำญาติที่รักสู่ภพภูมิที่ดี" ของเทศบาลขอนแก่น
    3) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    4) ใบงาน: วิเคราะห์ข้อมูลสถิติเกี่ยวกับความตายและปัจจัยทางสังคม
    12 บทที่ 10: อุตสาหกรรมความตาย
    - ธุรกิจเกี่ยวกับความตาย: สัปเหร่อ ฌาปนกิจ และการจัดการศพ
    - การแปรสภาพความตายให้เป็นสินค้า (Commodification of Death)
    - การตลาดและโฆษณาในอุตสาหกรรมความตาย
    - การวิพากษ์อุตสาหกรรมความตายในมุมมองทางสังคมวิทยา
    3
    • K2: นักศึกษาเข้าใจบริบทเฉพาะของความตายในสังคมไทย และเปรียบเทียบมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
    • K3: นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือทางสังคมวิทยาในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์เกี่ยวกับความตาย
    • S3: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงประเด็นความตายกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • E3: นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • C3: นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    1) บรรยายพร้อมเอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหา
    2) กิจกรรม: วิเคราะห์โฆษณาหรือเว็บไซต์ของธุรกิจเกี่ยวกับความตาย
    3) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    13 บทที่ 11: ความตายกับสิ่งแวดล้อม
    - ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของการจัดการศพแบบต่างๆ
    - นวัตกรรมทางเลือกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม: การฝังศพเชิงนิเวศ (eco-burial)
    - จริยธรรมสิ่งแวดล้อมและการจัดการศพ
    - การเปลี่ยนแปลงทัศนคติต่อการจัดการศพที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

    3
    • K3: นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    • S2: นักศึกษาสื่อสารประเด็นที่ละเอียดอ่อนเกี่ยวกับความตายอย่างมีวิจารณญาณในสื่อและวัฒนธรรมร่วมสมัย
    • S3: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงประเด็นความตายกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • E2: นักศึกษาเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรมในมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตาย
    • E3: นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • C2: นักศึกษาสามารถสะท้อนคิดเกี่ยวกับความตายและเชื่อมโยงการศึกษาความตายกับการพัฒนาปรัชญาชีวิตส่วนบุคคล
    • C3: นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    1) บรรยายพร้อมเอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหา
    2) กิจกรรม: วิเคราะห์โฆษณาหรือเว็บไซต์ของธุรกิจเกี่ยวกับความตาย
    3) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    14 บทที่ 12: ความตายในบริบทโลกาภิวัตน์
    - การเคลื่อนย้ายศพข้ามพรมแดน (Transnational Death)/ พิธีศพของผู้อพยพและชุมชนพลัดถิ่น
    - การท่องเที่ยวเชิงความตาย (Dark Tourism) และการบริโภคความตาย
    - ความตายและชีวิตในยุคดิจิทัล: ตัวตนเสมือนหลังความตาย (Virtual Afterlife) และการใช้ AI สร้างตัวตนหลังความตาย
    - ประเด็นกฎหมายและจริยธรรมเกี่ยวกับมรดกดิจิทัล
    - อนาคตของความตายในยุคเทคโนโลยีก้าวหน้า
    3
    • K3: นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    • S3: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงประเด็นความตายกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • E2: นักศึกษาเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรมในมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตาย
    • E3: นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • C2: นักศึกษาสามารถสะท้อนคิดเกี่ยวกับความตายและเชื่อมโยงการศึกษาความตายกับการพัฒนาปรัชญาชีวิตส่วนบุคคล
    • C3: นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    1) บรรยายพร้อมเอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหา
    2) กิจกรรม: วิเคราะห์กรณีตัวอย่างของพิธีศพข้ามวัฒนธรรม
    3) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    15 นำเสนอรายงานการศึกษา (Project)
    - สรุปรายวิชาและทบทวน
    3
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดและทฤษฎีหลักทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวข้องกับความตาย
    • K2: นักศึกษาเข้าใจบริบทเฉพาะของความตายในสังคมไทย และเปรียบเทียบมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
    • K3: นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือทางสังคมวิทยาในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์เกี่ยวกับความตาย
    • S2: นักศึกษาสื่อสารประเด็นที่ละเอียดอ่อนเกี่ยวกับความตายอย่างมีวิจารณญาณในสื่อและวัฒนธรรมร่วมสมัย
    • S3: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงประเด็นความตายกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • E2: นักศึกษาเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรมในมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตาย
    • E3: นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • C2: นักศึกษาสามารถสะท้อนคิดเกี่ยวกับความตายและเชื่อมโยงการศึกษาความตายกับการพัฒนาปรัชญาชีวิตส่วนบุคคล
    • C3: นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    1) กิจกรรม: นำเสนอโครงงานกลุ่ม และอภิปรายสรุป
    2) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • K2: นักศึกษาเข้าใจบริบทเฉพาะของความตายในสังคมไทย และเปรียบเทียบมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
    • K3: นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือทางสังคมวิทยาในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์เกี่ยวกับความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • E2: นักศึกษาเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรมในมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตาย
    • E3: นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • C2: นักศึกษาสามารถสะท้อนคิดเกี่ยวกับความตายและเชื่อมโยงการศึกษาความตายกับการพัฒนาปรัชญาชีวิตส่วนบุคคล
    • C3: นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    20
    การค้นคว้างานเดี่ยว แบบฝึกหัดท้ายบทและใบงาน
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดและทฤษฎีหลักทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวข้องกับความตาย
    • K2: นักศึกษาเข้าใจบริบทเฉพาะของความตายในสังคมไทย และเปรียบเทียบมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
    • K3: นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือทางสังคมวิทยาในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์เกี่ยวกับความตาย
    • S2: นักศึกษาสื่อสารประเด็นที่ละเอียดอ่อนเกี่ยวกับความตายอย่างมีวิจารณญาณในสื่อและวัฒนธรรมร่วมสมัย
    • S3: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงประเด็นความตายกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • E2: นักศึกษาเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรมในมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตาย
    • E3: นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • C2: นักศึกษาสามารถสะท้อนคิดเกี่ยวกับความตายและเชื่อมโยงการศึกษาความตายกับการพัฒนาปรัชญาชีวิตส่วนบุคคล
    • C3: นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    20
    รายงานการศึกษา (Term Paper) และการนำเสนอ
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดและทฤษฎีหลักทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวข้องกับความตาย
    • K2: นักศึกษาเข้าใจบริบทเฉพาะของความตายในสังคมไทย และเปรียบเทียบมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
    • K3: นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือทางสังคมวิทยาในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์เกี่ยวกับความตาย
    • S2: นักศึกษาสื่อสารประเด็นที่ละเอียดอ่อนเกี่ยวกับความตายอย่างมีวิจารณญาณในสื่อและวัฒนธรรมร่วมสมัย
    • S3: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงประเด็นความตายกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • E2: นักศึกษาเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรมในมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตาย
    • E3: นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • C2: นักศึกษาสามารถสะท้อนคิดเกี่ยวกับความตายและเชื่อมโยงการศึกษาความตายกับการพัฒนาปรัชญาชีวิตส่วนบุคคล
    • C3: นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    30
    สอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดและทฤษฎีหลักทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวข้องกับความตาย
    • K2: นักศึกษาเข้าใจบริบทเฉพาะของความตายในสังคมไทย และเปรียบเทียบมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
    • K3: นักศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตายในสังคมสมัยใหม่
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือทางสังคมวิทยาในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์เกี่ยวกับความตาย
    • S2: นักศึกษาสื่อสารประเด็นที่ละเอียดอ่อนเกี่ยวกับความตายอย่างมีวิจารณญาณในสื่อและวัฒนธรรมร่วมสมัย
    • S3: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงประเด็นความตายกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นความตาย
    • E1: นักศึกษาตระหนักถึงประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตายในสังคมร่วมสมัย
    • E2: นักศึกษาเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรมในมุมมองและการปฏิบัติเกี่ยวกับความตาย
    • E3: นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมในการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับความตาย และเคารพต่อประสบการณ์ความสูญเสียของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษาเปิดกว้างและยอมรับมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับความตาย
    • C2: นักศึกษาสามารถสะท้อนคิดเกี่ยวกับความตายและเชื่อมโยงการศึกษาความตายกับการพัฒนาปรัชญาชีวิตส่วนบุคคล
    • C3: นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม
    30 ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์. (2566). ชุดความรู้สังคมวิทยาการตาย ความตาย และการจัดการหลังความตาย” (Sociology of dying, death, and di sposal : Soc DDD). เชีียงใหม่่ : สำนัักงานการวิิจััยแห่่งชาติ. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Henry Abramovitch. (2008). Anthropology of Death. Annual Review of Anthropology. Annual Review of Anthropology, 5, 870-873. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Metcalt, P. & Huntington, R. (1991). Celebrations of Death: The Anthropology of Mortuary Ritual. Cambridge: Cambridge University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Rafaella, B. & Dong Hoon Shin. (Eds.). (2021). The Handbook of Mummy Studies. Singapore: Springer. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ กลุ่ม Peaceful Death https://peacefuldeath.co/
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Death Studies Journal: https://www.tandfonline.com/toc/udst20/current
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ The Order of the Good Death: http://www.orderofthegooddeath.com/
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ End of Life Studies Blog, University of Glasgow: http://endoflifestudies.academicblogs.co.uk/
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ The Digital Beyond: http://www.thedigitalbeyond.com/
    หนังสือ หรือ ตำรา Thompson, N. and Cox G.R. (2017). Handbook of the Sociology of Death, Grief, and Bereavement - A Guide to Theory and Practice. New York: Routledge. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    • นําผลการวิจัยในชั้นเรียนมาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop Course instruction and assessment according to the result from classroom research.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ