Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS422411
ภาษาไทย
Thai name
สังคมวิทยาการบริโภค
ภาษาอังกฤษ
English name
Sociology of Consumption
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2567)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กีรติพร จูตะวิริยะ
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กีรติพร จูตะวิริยะ
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีสังคมวิทยาการบริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภค
  • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ข้อถกเถียงทางสังคมวิทยาการบริโภคและสุนทรียศาสตร์ในโลกสังคมสมัยใหม่
จริยธรรม
Ethics
  • มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
ทักษะ
Skills
  • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
ลักษณะบุคคล
Character
  • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
     Description of Subject Course/Module
ภาษาไทย
Thai
พัฒนาการทางแนวความคิดแนวคิดและทฤษฎีสังคมวิทยาการบริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภค ตัวตน ชนชั้นและสถานะทางสังคม วัฒนธรรมการบริโภค ข้อถกเถียงทางสังคมวิทยาการบริโภคและสุนทรียศาสตร์ในโลกสังคมสมัยใหม่
ภาษาอังกฤษ
English
Development of thought concepts, concepts and consumption sociological theories, relationship of consumption in self, class and status, cultural consumption, debate on sociology of consumption and aesthetics in contemporary society.
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
     Delivery mode and Learning management Method
รูปแบบ
Delivery mode
  • Classroom-based learning
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
Learning management Method
  • Flipped classroom
  • Case discussion
7. แผนการจัดการเรียนรู้
     Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
หัวข้อการสอน
Teaching topics
จํานวน
ชั่วโมง
Number of hours
CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1 การนำเข้าสู่การเรียน
- แนะนำรายวิชา/วิธีการเรียน/การแบ่งกลุ่ม/การประเมินผล/แนะนำเอกสารและหนังสือประกอบการเรียน
3
  • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
-บรรยาย และแจกประมวลรายวิชา
-ชี้แจงข้อตกลงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนและการประเมินผล
-แนะนำหนังสือ หรือ ตำรา
-เรียนในห้องเรียน
2 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริโภคในโลกสมัยใหม่
-บทนำ ความหมาย
-ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคกับสังคมโลก
-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริโภคในโลกสมัยใหม่
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีสังคมวิทยาการบริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภค
-อภิปรายและการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) โดยนักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายแสดงความคิดเห็นและค้นคว้าในชั้นเรียน
3 2. พัฒนาการทางความคิดเกี่ยวกับการบริโภค
- ทัศนะของการบริโภคในหลากศาสตร์
-พัฒนาการทางความคิดเกี่ยวกับการบริโภค
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีสังคมวิทยาการบริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภค
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-มอบหมายงานกลุ่มในชั้นเรียนให้นักศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดพัฒนาการทางความคิดเกี่ยวกับการบริโภค
4 3. ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมวิทยากับการบริโภค
-การบริโภคกับสถานะทางสังคม
-การบริโภคกับอัตลักษณ์และชนชั้น
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีสังคมวิทยาการบริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภค
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
-มอบหมายให้นักศึกษาสังเคราะห์ความรู้และสรุปประเด็นสำคัญและนำเสนอในชั้นเรียน ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมวิทยากับการบริโภค
5 4. แนวคิดและทฤษฎีสังคมวิทยาเกี่ยวกับการบริโภค
-สาระสำคัญ แนวคิดและทฤษฎีสังคมวิทยาเกี่ยวกับการบริโภค
-การก่อตัวการบริโภคในฐานะทฤษฎีทางสังคมวิทยา
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีสังคมวิทยาการบริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภค
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ข้อถกเถียงทางสังคมวิทยาการบริโภคและสุนทรียศาสตร์ในโลกสังคมสมัยใหม่
-บรรยาย อภิปราย และมอบหมายงานสำหรับการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง
6 5.ทฤษฎีการบริโภคเชิงสัญญะ
-ความสัมพันธ์การบริโภคกับการสังคมในมิติทางสังคม
-ยกตัวอย่าง วิเคราะห์บทบาทและผลการบริโภคเชิงสัญญะ
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีสังคมวิทยาการบริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภค
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ข้อถกเถียงทางสังคมวิทยาการบริโภคและสุนทรียศาสตร์ในโลกสังคมสมัยใหม่
-นักศึกษาอ่านงานวิจัยหรือผลงานที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีการบริโภคเชิงสัญญะ
-ความสัมพันธ์การบริโภคกับการสังคมในมิติทางสังคม
7 6.ทฤษฎีวัฒนธรรมการบริโภค
-วัฒนธรรมการบริโภคในสังคม
-การบริโภคในบทบาทการพัฒนาด้านสังคม วัฒนธรรม
-ผลทางด้านสังคมวัฒนธรรมในการเปลี่ยนแปลงในการบริโภค
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีสังคมวิทยาการบริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภค
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ข้อถกเถียงทางสังคมวิทยาการบริโภคและสุนทรียศาสตร์ในโลกสังคมสมัยใหม่
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-บรรยาย อภิปราย อ่านบทความและวิเคราะห์ประกอบเนื้อหาในชั้นเรียน
8 7.วัฒนธรรมการบริโภคสมัยใหม่
-วัฒนธรรมบริโภคสื่อใหม่
-วัฒนธรรมบริโภคของแฟนคลับ
-วัฒนธรรมบริโภคในการท่องเที่ยว
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ข้อถกเถียงทางสังคมวิทยาการบริโภคและสุนทรียศาสตร์ในโลกสังคมสมัยใหม่
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-นักศึกษาอ่านงานเขียนที่สะท้อนวิถีชีวิตในสังคมสมัยใหม่ วิเคราะห์ประเด็นวัฒนธรรมการบริโภคสมัยใหม่
-วัฒนธรรมบริโภคสื่อใหม่
-วัฒนธรรมบริโภคของแฟนคลับ
-วัฒนธรรมบริโภคในการท่องเที่ยว
9 8. การบริโภคสุขภาพในสังคม
-การบริโภคกับนโยบายและแผนงาน
-พฤติกรรมการบริโภคสุขภาพ
-การบริโภคกับการกระจายข้อมูลด้านสุขภาพ ข่าวสารเพื่อการพัฒนาด้านสุขภาพในประเด็นต่างๆ
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีสังคมวิทยาการบริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภค
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ข้อถกเถียงทางสังคมวิทยาการบริโภคและสุนทรียศาสตร์ในโลกสังคมสมัยใหม่
-อภิปราย ศึกษา และวิเคราะห์การบริโภคสุขภาพในสังคมกับนโยบายในปัจจุบัน
10 9. การบริโภคกับเทคโนโลยี
-การวิเคราะห์สถานการณ์ การบริโภค สมัยใหม่ในศตวรรษที่20
-เทคโนโลยีการบริโภคสุขภาพ
-พื้นที่ทางสังคมในการบริโภค
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ข้อถกเถียงทางสังคมวิทยาการบริโภคและสุนทรียศาสตร์ในโลกสังคมสมัยใหม่
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-บรรยายในชั้นเรียน ศึกษากรณีศึกษา และวิเคราะห์สถานการณ์ การบริโภค สมัยใหม่ในศตวรรษที่20
-เทคโนโลยีการบริโภคสุขภาพ
-พื้นที่ทางสังคมในการบริโภค
11 10. การวิเคราะบริโภคกับการติดต่อสื่อสารในโลกสมัยใหม่
-บทบาทของสื่อกับการบริโภคในบริบทของโลกดิจิทัล
-วิเคราะห์การบริโภคในการพัฒนาสื่อ
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ข้อถกเถียงทางสังคมวิทยาการบริโภคและสุนทรียศาสตร์ในโลกสังคมสมัยใหม่
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-มอบหมายงานให้ศึกษากรณีศึกษา อภิปรายและแสดงความคิดเห็นวิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้บริโภคกับการติดต่อสื่อสารในโลกสมัยใหม่
12 11. การบริโภคในมิติการพัฒนายุคดิจิทัล
-ประเภทและคุณลักษณะที่ปรับเปลี่ยนไปในการบริโภค
-แนวทางและรูปแบบการบริโภคที่ใช้สื่อเพื่อการพัฒนายุคดิจิทัล
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ข้อถกเถียงทางสังคมวิทยาการบริโภคและสุนทรียศาสตร์ในโลกสังคมสมัยใหม่
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-อภิปราย ศึกษากรณีศึกษา และแสดงความคิดเห็นวิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้แนวทางและรูปแบบการบริโภคที่ใช้สื่อเพื่อการพัฒนายุคดิจิทัล
13 12. การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมกับการบริโภคสุนทรียศาสตร์
-ปัญหา อุปสรรคและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงภาวะบริโภคในภาวะพลวัต
-แนวทางการการบริโภคในสังคมเปลี่ยนผ่าน
-แนวโน้มการบริโภคสุนทรียศาสตร์
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ข้อถกเถียงทางสังคมวิทยาการบริโภคและสุนทรียศาสตร์ในโลกสังคมสมัยใหม่
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-บรรยาย ศึกษากรณีศึกษา อภิปรายแสดงความคิดเห็น และการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมกับการบริโภคสุนทรียศาสตร์
14 13.ประเด็นการบริโภคในโลกสมัยใหม่
-กลไกทางสังคมกับการจัดระเบียบด้านการบริโภค
-ความพลิกผันในการบริโภคกับการจัดระเบียบทางสังคม
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ข้อถกเถียงทางสังคมวิทยาการบริโภคและสุนทรียศาสตร์ในโลกสังคมสมัยใหม่
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • E1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
-บรรยาย ศึกษากรณีศึกษา อภิปรายและแสดงความคิดเห็นวิเคราะห์ และประเด็นการบริโภคในโลกสมัยใหม่
15 14.สรุป การวิเคราะห์ นำเสนองานด้านการบริโภคในสังคมโลก
-แนวทางในการบริโภคในโลกปัจจุบัน
-แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอำนาจรัฐกับการบริโภคในโลกสมัยใหม่
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ข้อถกเถียงทางสังคมวิทยาการบริโภคและสุนทรียศาสตร์ในโลกสังคมสมัยใหม่
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
  • E1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
  • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
-นักศึกษานำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าของกลุ่มในประเด็นต่างๆ
-การวิเคราะห์ นำเสนองานด้านการบริโภคในสังคมโลก
-แนวทางในการบริโภคในโลกปัจจุบัน
-แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอำนาจรัฐกับการบริโภคในโลกสมัยใหม่
รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
     Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
CLO สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
หมายเหตุ
Note
สอบกลางภาค
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีสังคมวิทยาการบริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภค
30
สอบปลายภาค
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ข้อถกเถียงทางสังคมวิทยาการบริโภคและสุนทรียศาสตร์ในโลกสังคมสมัยใหม่
30
งานกลุ่ม
รายงานผลการศึกษา และการนำเสนอ (งานกลุ่ม)
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีสังคมวิทยาการบริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภค
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
  • E1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
20
งานเดี่ยว
-รายงานการสังเคราะห์ความรู้ (งานรายบุคคล ครั้งที่1)
-การนำเสนองานที่ศึกษาค้นคว้า (งานรายบุคคล ครั้งที่2)
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ข้อถกเถียงทางสังคมวิทยาการบริโภคและสุนทรียศาสตร์ในโลกสังคมสมัยใหม่
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
10
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
-การเข้าชั้นเรียน การเรียนรู้ และการมีส่วนร่วม
  • E1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
  • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
10
สัดส่วนคะแนนรวม 100
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
     Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา
Type
รายละเอียด
Description
ประเภทผู้แต่ง
Author
ไฟล์
File
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Gaviria, P.R. and C. Bluemelhuber (2010) "Consumers' Transformations in a Liquid Society:
Introducing the Concepts of Autobiographical-Concern and Desire-Assemblage." Journal
of Consumer Behaviour. 9(2): 126-38.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Giddens, A. 2006. Sociology. 5th edition. Cambridge: Polity อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Ritzer, G. (2011). The McDonaldization of Society. 6th edn. Thousand Oaks, CA: Pine Forge
Press.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Rey, P. J. and Ritzer, G. (2012). The Sociology of Consumption. Blackwell Publishing. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Possamal, A. (2002) "Cultural Consumption of History and Popular Culture in Alternative
Spiritualities." Journal of Consumer Culture. 2(2): 197-218.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา สุภางค์ จันทวานิช. 2551. ทฤษฎีสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
     Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
Evaluation of course effectiveness and validation
  • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
  • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
Improving Course instruction and effectiveness
  • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
  • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ