Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS423309
ภาษาไทย
Thai name
การสำรวจมติมหาชน
ภาษาอังกฤษ
English name
Public Opinion Survey
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(2-3-5)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
      จริยธรรม
      Ethics
        ทักษะ
        Skills
          ลักษณะบุคคล
          Character
            5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
                 Description of Subject Course/Module
            ภาษาไทย
            Thai
            การสำรวจมติมหาชนกับสังคม การใช้สื่อกับการสำรวจมติมหาชน เทคนิคการสุ่ม
            ตัวอย่าง การสร้างคำถาม การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และการแปลความหมาย
            การรายงานผลการ สำรวจและการนำผลการสำรวจไปใช้ในสังคม กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
            การสำรวจมติมหาชน
            ภาษาอังกฤษ
            English
            Public opinion survey and society, the media and public opinion survey,
            sampling techniques, question procedures, data collecting, analyzing and
            interpreting public opinion survey, law related opinion survey.
            6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
                 Delivery mode and Learning management Method
            รูปแบบ
            Delivery mode
              รูปแบบการจัดการเรียนรู้
              Learning management Method
                7. แผนการจัดการเรียนรู้
                     Lesson plan
                สัปดาห์ที่
                Week
                หัวข้อการสอน
                Teaching topics
                จํานวน
                ชั่วโมง
                Number of hours
                CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
                Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
                ทฤษฎี ปฏิบัติ
                รวมจำนวนชั่วโมง 0 0
                8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
                     Course assessment
                วิธีการประเมิน
                Assessment Method
                CLO สัดส่วนคะแนน
                Score breakdown
                หมายเหตุ
                Note
                สัดส่วนคะแนนรวม 0
                9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
                     Textbook and instructional materials
                ประเภทตำรา
                Type
                รายละเอียด
                Description
                ประเภทผู้แต่ง
                Author
                ไฟล์
                File
                10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
                     Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
                การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
                Evaluation of course effectiveness and validation
                  การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
                  Improving Course instruction and effectiveness
                    ผลการเรียนรู้
                    Curriculum mapping
                    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

                    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
                    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
                    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
                    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
                    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

                    2. ด้านความรู้
                    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
                    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
                    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
                    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

                    3. ด้านทักษะทางปัญญา
                    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
                    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

                    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
                    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
                    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
                    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
                    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

                    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
                    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
                    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
                    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ