Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาพัฒนาสังคม
Social Development
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS433308
ภาษาไทย
Thai name
อาชญาวิทยาและงานยุติธรรมสำหรับการพัฒนาสังคม
ภาษาอังกฤษ
English name
Criminology and Justice for Social Development
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์ภีมกร โดมมงคล
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์ภีมกร โดมมงคล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละสำนัก รวมถึงขอบเขตของ อาชญาวิทยา
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับทันฑวิทยา การปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด วัตถุประสงค์ของการลงโทษ วิธีการลงโทษ
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระบบยุติธรรมกระบวนการยุติธรรมและการเปลี่ยนแปลง วิกฤติและความสัมพันธ์ระหว่างยุติธรรมกระแสหลักและยุติธรรมทางเลือก
    • นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีจริยธรรมในการมองคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และเข้าใจพฤติกรรมของผู้กระทำผิดและการให้โอกาสทางสังคมโดยปราศจากอคติและการตีตรา
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ แยกยะข้อมูล บูรณาการและประยุกต์ใช้ องค์ความรู้ ที่เกี่ยวกับ แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยาและงานยุติธรรมเพื่อการพัฒนาสังคม
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมซึ่่งก่อให้เกิดความหลากหลายทางความเชื่อและพฤติกรรมของคนในสังคม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความสำคัญ แนวคิด ปรัชญา และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับอาชญาวิทยาและงานยุติธรรมทั้งกระแสหลักและกระแสรอง การบริหารงานยุติธรรม กระบวนการยุติธรรมเปรียบเทียบ ประเภทของอาชญากรรม แนวทางการป้องกันอาชญากรรม แนวโน้มของอาชญากรรมในสังคมไทยและสังคมโลก แนวคิดด้านการเปลี่ยนผ่านของแนวคิดด้านอาชญาวิทยาและงานยุติธรรมที่ส่งผลต่อการพัฒนาสังคม แนวทางการประยุกต์ใช้แนวคิดเพื่อหาทางป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมในสังคมอย่างยั่งยืน
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Importance, concepts, philosophies, and all relevant theories that related to criminology and justice, both mainstream and alternative justice, justice administration, comparative justice, type of crime, crime prevention guidelines, trend of crime in Thai and global society, a transitional concept of criminology and justice that affects social development, approaches to apply criminology and justice concepts to find the way to prevent and crimes problem solving in society with sustainability
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Online learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Problem-based learning
    • Case discussion
    • นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้และอภิปราย กรณีศึกษาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรมเพื่อการพัฒนาสังคม: เรียนรู้จากกรณีที่น่าสนใจ
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 - แนะนำตัวผู้สอนและรายวิชา
    -วิธีการเรียน
    -วิธีการประเมินผลการเรียนการสอน
    -ให้ชมวิีดีทัศน์ประเภทและรูปแบบของอาชญากรรม ภาพรวมของอาชญากรรม
    -แลกเปลี่ยน วิพากษ์ สาเหตุและพฤติกรรมของอาชญากร
    -สอบถาม และประเมิน ความรู้ ความเข้าใจ แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับอาชญาวิทยาและความเชื่อมโยงกับงานยุติธรรมและการพัฒนาสังคม
    3
    • K1: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละสำนัก รวมถึงขอบเขตของ อาชญาวิทยา
    • K3: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    -แนะนำรายวิชา วิธีการเรียน การประเมินผล และแนะนำตัวผู้สอนและผู้เรียน
    -แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการการเรียนรู้ของรายวิชา
    -แลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจในความรู้พื้นฐานด้านอาชญวิทยาและงานยุติธรรมกับการพัฒนาสังคมในแต่ละรูปแบบ
    2 ความเป็นมาของการศึกษาอาชญาวิทยา
    ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา
    ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษา
    ทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละยุคและทฤษฎีอาชญาวิทยาเปรียบเทียบ
    รวมถึงขอบเขตของอาชญาวิทยา
    3
    • K1: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละสำนัก รวมถึงขอบเขตของ อาชญาวิทยา
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่อง
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    หนังสือ หรือ ตำรา
    โปรแกรมวีดีทัศน์
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    3 สำนักคิดและขอบเขตทางอาชญาวิทยา
    - สำนักอาชญาวิทยาดั้งเดิม
    -สำนักอาชญาวิทยากึ่งดั่งเดิม
    -สำนักอาชาญาวิทยาปฎิฐานนิยม
    -สำนักอาชญาวิทยาสังคมสมัยใหม่
    3
    • K1: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละสำนัก รวมถึงขอบเขตของ อาชญาวิทยา
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่อง
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    4 แนวคิดและทฤษฎี
    -แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมอาชญากรรม
    -การแบ่งกลุ่มและประเภทของอาชญากรรม
    -การป้องกันอาชญากรรม
    3
    • K1: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละสำนัก รวมถึงขอบเขตของ อาชญาวิทยา
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่อง- แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมอาชญากรรม
    -แนวคิดเรื่องการป้องกันอาชญากรรม
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    5 - แนวคิดเกี่ยวกับทันฑวิทยา
    -การปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด
    -วัตถุประสงค์ของการลงโทษ
    -วิธีการลงโทษ
    3
    • K1: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละสำนัก รวมถึงขอบเขตของ อาชญาวิทยา
    • K2: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับทันฑวิทยา การปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด วัตถุประสงค์ของการลงโทษ วิธีการลงโทษ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่อง
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    6 ความเป็นมา แนวคิด ความหมายและความสำคัญลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม 3
    • K3: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • K4: --นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระบบยุติธรรมกระบวนการยุติธรรมและการเปลี่ยนแปลง วิกฤติและความสัมพันธ์ระหว่างยุติธรรมกระแสหลักและยุติธรรมทางเลือก
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่องความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Power point หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    7 - กระบวนการยุติธรรมหลัก
    (Criminal justice)กระบวนการยุติธรรมเชิงสถาบัน (Institutional criminal justice) กระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก (Mainstream Criminal) และยุติธรรมทางเลือก

    - การเปลี่ยนแปลงของกระบวนการยุติธรรมหลักในสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ กฎหมายกระบวนการยุติธรรมและสังคม

    - การเกิดขึ้นของกระบวนการยุติธรรมทางเลือกและนวัตกรรมยุตธรรมทางเลือกร่วมสมัยรูปแบบสำคัญ ๆ ในสังคมร่วมสมัย

    -แผนแม่บทด้านกระบวนการยุติธรรม
    3
    • K3: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • K4: --นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระบบยุติธรรมกระบวนการยุติธรรมและการเปลี่ยนแปลง วิกฤติและความสัมพันธ์ระหว่างยุติธรรมกระแสหลักและยุติธรรมทางเลือก
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    8 - อิทธิพลต่อการลงโทษของกระบวนการยุติธรรม
    -การลงโทษเพื่อให้ผู้กระทำผิดเกิดความเกรงกลัว
    -การลงโทษเพื่อให้บุคคลในสังคมเกิดความเกรงกลัว
    3
    • K2: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับทันฑวิทยา การปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด วัตถุประสงค์ของการลงโทษ วิธีการลงโทษ
    • K3: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • K4: --นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระบบยุติธรรมกระบวนการยุติธรรมและการเปลี่ยนแปลง วิกฤติและความสัมพันธ์ระหว่างยุติธรรมกระแสหลักและยุติธรรมทางเลือก
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    9 การบริหารกระบวนการยุติธรรม ให้เป็นระบบ มีประสิทธิภาพ การตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจ ตำรวจ อัยการ ศาล 3
    • K2: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับทันฑวิทยา การปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด วัตถุประสงค์ของการลงโทษ วิธีการลงโทษ
    • K3: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • K4: --นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระบบยุติธรรมกระบวนการยุติธรรมและการเปลี่ยนแปลง วิกฤติและความสัมพันธ์ระหว่างยุติธรรมกระแสหลักและยุติธรรมทางเลือก
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    10 อาชญาวิทยากับการประยุกต์ใช้เชิงนโยบายสาธารณะ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง 3
    • K1: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละสำนัก รวมถึงขอบเขตของ อาชญาวิทยา
    • K2: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับทันฑวิทยา การปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด วัตถุประสงค์ของการลงโทษ วิธีการลงโทษ
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    11 กระบวนการยุติธรรมกับความยากจน และยุทธศาสตร์การพัฒนากระบวนการยุติธรรมเพื่อคนจน 3
    • K3: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • K4: --นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระบบยุติธรรมกระบวนการยุติธรรมและการเปลี่ยนแปลง วิกฤติและความสัมพันธ์ระหว่างยุติธรรมกระแสหลักและยุติธรรมทางเลือก
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    12 เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) มีทั้งหมด 17 เป้าหมาย (Goals) ความสำคัญของกระบวนการยุติธรรมต่อการส่งเสริมสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรม และสร้างสถาบันที่มีประสิทธิภาพ รับผิดชอบ และครอบคลุมในทุกระดับ 3
    • K2: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับทันฑวิทยา การปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด วัตถุประสงค์ของการลงโทษ วิธีการลงโทษ
    • K3: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • K4: --นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระบบยุติธรรมกระบวนการยุติธรรมและการเปลี่ยนแปลง วิกฤติและความสัมพันธ์ระหว่างยุติธรรมกระแสหลักและยุติธรรมทางเลือก
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    13 - การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์ 3
    • K1: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละสำนัก รวมถึงขอบเขตของ อาชญาวิทยา
    • K2: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับทันฑวิทยา การปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด วัตถุประสงค์ของการลงโทษ วิธีการลงโทษ
    • K3: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • K4: --นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระบบยุติธรรมกระบวนการยุติธรรมและการเปลี่ยนแปลง วิกฤติและความสัมพันธ์ระหว่างยุติธรรมกระแสหลักและยุติธรรมทางเลือก
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    14 นำเสนอรายงานกลุ่ม จากกรณีศึกษาที่สนใจด้วยการการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีอาชญาวิทยาและงานยุติธรรมเพื่อการพัฒนาสังคม 3
    • K1: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละสำนัก รวมถึงขอบเขตของ อาชญาวิทยา
    • K2: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับทันฑวิทยา การปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด วัตถุประสงค์ของการลงโทษ วิธีการลงโทษ
    • K3: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • K4: --นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระบบยุติธรรมกระบวนการยุติธรรมและการเปลี่ยนแปลง วิกฤติและความสัมพันธ์ระหว่างยุติธรรมกระแสหลักและยุติธรรมทางเลือก
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    15 สรุปผลการเรียน 3
    • K1: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละสำนัก รวมถึงขอบเขตของ อาชญาวิทยา
    • K2: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับทันฑวิทยา การปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด วัตถุประสงค์ของการลงโทษ วิธีการลงโทษ
    • K3: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • K4: --นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระบบยุติธรรมกระบวนการยุติธรรมและการเปลี่ยนแปลง วิกฤติและความสัมพันธ์ระหว่างยุติธรรมกระแสหลักและยุติธรรมทางเลือก
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ในห้องเรียน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    1 สอบกลางภาค


    • K1: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละสำนัก รวมถึงขอบเขตของ อาชญาวิทยา
    • K2: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับทันฑวิทยา การปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด วัตถุประสงค์ของการลงโทษ วิธีการลงโทษ
    • K3: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • K4: --นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระบบยุติธรรมกระบวนการยุติธรรมและการเปลี่ยนแปลง วิกฤติและความสัมพันธ์ระหว่างยุติธรรมกระแสหลักและยุติธรรมทางเลือก
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    25 นอกตาราง (ตกลงกับนักศึกษา)
    2 สอบปลายภาค
    • K1: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละสำนัก รวมถึงขอบเขตของ อาชญาวิทยา
    • K2: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับทันฑวิทยา การปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด วัตถุประสงค์ของการลงโทษ วิธีการลงโทษ
    • K3: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • K4: --นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระบบยุติธรรมกระบวนการยุติธรรมและการเปลี่ยนแปลง วิกฤติและความสัมพันธ์ระหว่างยุติธรรมกระแสหลักและยุติธรรมทางเลือก
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    25 ตามปฎิทินมหาวิทยาลัย
    3 รายงานและนำเสนอเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีอาชญาวิทยาและงานยุติธรรมเพื่อการพัฒนาสังคม: เรียนรู้จากกรณีที่น่าสนใจ
    • K1: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละสำนัก รวมถึงขอบเขตของ อาชญาวิทยา
    • K2: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับทันฑวิทยา การปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด วัตถุประสงค์ของการลงโทษ วิธีการลงโทษ
    • K3: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • K4: --นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระบบยุติธรรมกระบวนการยุติธรรมและการเปลี่ยนแปลง วิกฤติและความสัมพันธ์ระหว่างยุติธรรมกระแสหลักและยุติธรรมทางเลือก
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    40
    4.เพื่อนประเมินเพื่อน
    • K1: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละสำนัก รวมถึงขอบเขตของ อาชญาวิทยา
    • K2: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับทันฑวิทยา การปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด วัตถุประสงค์ของการลงโทษ วิธีการลงโทษ
    • K3: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • K4: --นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระบบยุติธรรมกระบวนการยุติธรรมและการเปลี่ยนแปลง วิกฤติและความสัมพันธ์ระหว่างยุติธรรมกระแสหลักและยุติธรรมทางเลือก
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    5

    5.การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
    • K1: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา ความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ความรู้เบื้องต้นและประวัติการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของแต่ละสำนัก รวมถึงขอบเขตของ อาชญาวิทยา
    • K2: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับทันฑวิทยา การปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด วัตถุประสงค์ของการลงโทษ วิธีการลงโทษ
    • K3: -นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความเป็นมา แนวคิด ความหมาย และความสำคัญ ลักษณะที่สำคัญของกระบวนการยุติธรรม
    • K4: --นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจระบบยุติธรรมกระบวนการยุติธรรมและการเปลี่ยนแปลง วิกฤติและความสัมพันธ์ระหว่างยุติธรรมกระแสหลักและยุติธรรมทางเลือก
    • K5: -นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยา ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    5
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา พรชัย ขันตีและคณะ . 2558. ทฤษฎีอาชญาวิทยา:หลักการ งานวิจัยและนโยบายประยุกต์ ส.เจริญการพิมพ์ กรุงเทพฯ: อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา เสกสัน เครือคำ.2558. อาชญากรรม อาชญาวิทยาและงานยุติธรรมทางอาญา.เพชรเกษมการพิมพ์ นคนปฐม. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา กิตติพงษ์ กิตยารักษ์และจุฑารัตน์ เอื้ออำนวย. 2546.หนังสือชุด”ปฎิรูปกระบวนการยุติธรรมกับความยากจน:ยุทธศาสตร์การพัฒนากระบวนการยุติธรรมเพื่อคนจน.ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พญาไทย เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา จุฑารัตน์ เอื้ออำนวย. 2556.ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือก แนวทางการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์.สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา กุลพล พลวัน.2544.การบริหารกระบวนการยุติธรรม .สำนักพิมพ์นิติธรรม กรุงเทพฯ อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา คณิต ณ นคร.2557. อภิวัฒน์กระบวนการยุติธรรม.สำนักพิมพ์วิญญูชน กรุงเทพฯ อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Dennis Howitt, 2015. Introduction to forensic and Criminal Psychology-5th ed Loughborough University. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Lilly,j.Robert ,Francis T.Cullen and Richard A.Ball ,2011. Criminalogical theory : context and consequences.-5th ed.p.cm includes bibliographical reference and index. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา คณิต ณ นครและคณะ.2559. โรดแมปปฎิรูปตำรวจ.สำนักพิมพ์ต้นทาง กรุงเทพฯ อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

    1. ด้านความรู้
    1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด และทฤษฎีสำคัญสำหรับการพัฒนาสังคมในขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ของหลักสูตร
    1.2 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชาพัฒนาสังคม รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางพัฒนาสังคม
    1.3 สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้

    2. ด้านทักษะ
    2.1 สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ ติดตามความก้าวหน้าในศาสตร์ รู้วิธีแก้ปัญหา และต่อยอด
    องค์ความรู้ได้
    2.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาอย่างเหมาะสม
    2.3 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ในการแก้ปัญหาทางวิชาการและการทำงาน
    2.4 มีความฉลาดทางอารมณ์ บริหารจัดการภายใต้ความกดดันทางสังคม

    3. ด้านจริยธรรม
    3.1 ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    3.2 มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา และเคารพกติกาของสังคม
    3.3 ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    3.4 รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    3.5 มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย

    4. ด้านลักษณะบุคคล
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม และมีจิตใจในการให้บริการที่ดี

    5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีทักษะกระบวนการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสถิติในระดับพื้นฐาน ในการแสวงหาความรู้เพื่อการปฏิบัติงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
    5.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสาร และค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    5.3 ใช้ภาษาไทยได้ดีทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและให้เหมาะสมกับสถานการณ์
    5.4 มีความสามารถในการใช้เครื่องมือที่หลากหลายและเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้อย่างเหมาะสม