Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
English
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS113502
ภาษาไทย
Thai name
การแปลทางธุรกิจ
ภาษาอังกฤษ
English name
Business Translation
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS112401#,HS112402#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์อังคณา ทองพูน พัฒนศร
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์อังคณา ทองพูน พัฒนศร
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ทฤษฎีการแปลและกระบวนการแปล
    • มีความสามารถในการแปลข้อความทางธุรกิจและสามารถปรับแก้ให้ถูกต้องและสละสลวย
    • มีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะ และไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการแปลข้อความทางธุรกิจ
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ทักษะ
    Skills
    • สามารถค้นคว้าหาความรู้ ประยุกต์และนำความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษที่เรียนมาใช้ในการแปลและวางแผนการทำงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ทฤษฎีการแปลที่เกี่ยวข้องกับการแปลทางธุรกิจ ลักษณะและปัญหาการแปล
    ทางภาษา อังกฤษธุรกิจ การฝึกแปลภาษาอังกฤษธุรกิจจากภาษาอังกฤษเป็น
    ภาษาไทยและจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ

    ภาษาอังกฤษ
    English
    Theories of translation, characteristics and problems in business
    translation, practice of business translation from English to Thai and
    from Thai to English
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Project-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 แนะนำรายวิชา


    ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการแปล

    ลักษณะทางภาษาอังกฤษธุรกิจ
    วิธีการแปล และปัญหาการแปลในภาษาอังกฤษธุรกิจ
    3
    • K1: มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ทฤษฎีการแปลและกระบวนการแปล
    - ชี้แจงรายวิชาและอภิปรายร่วมกับนักศึกษาเกี่ยวกับการประเมินผล
    - บรรยายเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปเและทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการแปล
    - ทำแบบฝึกหัด
    - ทำกิจกรรมกลุ่มฝึกแปลข้อความทางธุรกิจ
    - นักศึกษาร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของโครงสร้างประโยค คำศัพท์เฉพาะทางภาษาอังกฤษธุรกิจ และปัญหาทางการแปลทางภาษาอังกฤษธุรกิจ
    2 การแปลภาษาอังกฤษ- ภาษาไทย

    ความเข้าใจประโยคเพื่อการแปล
    3
    • K1: มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ทฤษฎีการแปลและกระบวนการแปล
    • K2: มีความสามารถในการแปลข้อความทางธุรกิจและสามารถปรับแก้ให้ถูกต้องและสละสลวย
    • K3: มีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะ และไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการแปลข้อความทางธุรกิจ
    • S1: สามารถค้นคว้าหาความรู้ ประยุกต์และนำความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษที่เรียนมาใช้ในการแปลและวางแผนการทำงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย
    - สอนแบบบรรยายและถามคำถามในชั้นเรียน
    - นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเกี่ยวกับประโยคที่มีความกำกวม
    - นักศึกษาทำกิจกรรมกลุ่มอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาที่พบในการแปล
    - ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการแปลข้อความทางธุรกิจจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย
    - อาจารย์มอบหมายงานนอกชั้นเรียน

    3 การแปลภาษาอังกฤษ- ภาษาไทยเรื่องคำนามและคำนำหน้านาม 3
    • K1: มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ทฤษฎีการแปลและกระบวนการแปล
    • K2: มีความสามารถในการแปลข้อความทางธุรกิจและสามารถปรับแก้ให้ถูกต้องและสละสลวย
    • K3: มีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะ และไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการแปลข้อความทางธุรกิจ
    • S1: สามารถค้นคว้าหาความรู้ ประยุกต์และนำความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษที่เรียนมาใช้ในการแปลและวางแผนการทำงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ
    - บรรยายเรื่องคำนามและคำนำหน้านาม
    - นักศึกษาอ่านข้อความทางธุรกิจและยกตัวอย่างคำนำหน้านามที่เป็นปัญหาในการแปล
    - นักศึกษาฝึกแปลเอกสารที่เกี่ยวข้องกับคำนามและคำนำหน้านาม
    - นักศึกษาและอาจารย์ร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดและแสดงความคิดเห็น

    4 เครื่องหมายวรรคตอน 3
    • K1: มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ทฤษฎีการแปลและกระบวนการแปล
    • K2: มีความสามารถในการแปลข้อความทางธุรกิจและสามารถปรับแก้ให้ถูกต้องและสละสลวย
    • K3: มีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะ และไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการแปลข้อความทางธุรกิจ
    • S1: สามารถค้นคว้าหาความรู้ ประยุกต์และนำความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษที่เรียนมาใช้ในการแปลและวางแผนการทำงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย
    - สอนแบบบรรยายและถามคำถามในชั้นเรียน
    - วิเคราะห์ประโยคที่อาจทำให้การแปลผิดพลาดอันเกิดจากการขาดความรู้เรื่องเครื่องหมายวรรคตอน
    - ทำกิจกรรมกลุ่ม เพื่อฝึกปฏิบัติงานแปล
    5-6 การแปลประโยคกรรม 6
    • K1: มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ทฤษฎีการแปลและกระบวนการแปล
    • K2: มีความสามารถในการแปลข้อความทางธุรกิจและสามารถปรับแก้ให้ถูกต้องและสละสลวย
    • K3: มีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะ และไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการแปลข้อความทางธุรกิจ
    • S1: สามารถค้นคว้าหาความรู้ ประยุกต์และนำความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษที่เรียนมาใช้ในการแปลและวางแผนการทำงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ
    - สอนแบบบรรยาย
    - นักศึกษาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างประโยคกรรมในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
    - ทำแบบฝึกหัดเรื่อง active and passive voice
    - นักศึกษาทำกิจกรรมกลุ่มเพื่อหาประโยคกรรมที่น่าสนใจจากข้อความทางธุรกิจในสื่อต่างๆและฝึกแปล
    7-8 การแปลคำสรรพนาม 6
    • K1: มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ทฤษฎีการแปลและกระบวนการแปล
    • K2: มีความสามารถในการแปลข้อความทางธุรกิจและสามารถปรับแก้ให้ถูกต้องและสละสลวย
    • K3: มีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะ และไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการแปลข้อความทางธุรกิจ
    • S1: สามารถค้นคว้าหาความรู้ ประยุกต์และนำความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษที่เรียนมาใช้ในการแปลและวางแผนการทำงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย
    - สอนแบบบรรยาย
    - นักศึกษาอ่านข้อความทางธุรกิจและฝึกวิเคราะห์ประโยคว่าแต่ละประโยคควรจะแปลคำสรรพนามหรือไม่ อย่างไร
    - ทำแบบฝึกหัดท้ายบท
    9-10 การแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ
    การแปลระดับคำและวลี
    6
    • K1: มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ทฤษฎีการแปลและกระบวนการแปล
    • K2: มีความสามารถในการแปลข้อความทางธุรกิจและสามารถปรับแก้ให้ถูกต้องและสละสลวย
    • K3: มีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะ และไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการแปลข้อความทางธุรกิจ
    • S1: สามารถค้นคว้าหาความรู้ ประยุกต์และนำความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษที่เรียนมาใช้ในการแปลและวางแผนการทำงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย
    - สอนแบบบรรยาย
    - ทำกิจกรรมเดี่ยวและกลุ่มเพื่อฝึกปฏิบัติการแปลในระดับคำและวลี
    - มอบหมายงานกลุ่มนอกชั้นเรียน
    11 การวิเคราะห์ประโยคภาษาไทยเพื่อการแปล 3
    • K1: มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ทฤษฎีการแปลและกระบวนการแปล
    • K2: มีความสามารถในการแปลข้อความทางธุรกิจและสามารถปรับแก้ให้ถูกต้องและสละสลวย
    • K3: มีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะ และไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการแปลข้อความทางธุรกิจ
    • S1: สามารถค้นคว้าหาความรู้ ประยุกต์และนำความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษที่เรียนมาใช้ในการแปลและวางแผนการทำงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย
    - สอนแบบบรรยายและถามคำถามในชั้นเรียน
    - นักศึกษาทำร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ

    ประโยคที่มีความกำกวมในภาษาไทย
    - นักศึกษาทำกิจกรรมกลุ่มอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาที่คาดว่าจะเกิดในการแปล
    - ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการแปลข้อความทางธุรกิจจากภาษาไทยภาษาอังกฤษ
    - อาจารย์มอบหมายงานนอกชั้นเรียน

    12 การเลือกใช้กาล 3
    • K1: มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ทฤษฎีการแปลและกระบวนการแปล
    • K2: มีความสามารถในการแปลข้อความทางธุรกิจและสามารถปรับแก้ให้ถูกต้องและสละสลวย
    • K3: มีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะ และไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการแปลข้อความทางธุรกิจ
    • S1: สามารถค้นคว้าหาความรู้ ประยุกต์และนำความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษที่เรียนมาใช้ในการแปลและวางแผนการทำงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย
    - สอนแบบบรรยาย
    - นักศึกษาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างกาลแบบเปิดเผยและไม่เปิดเผย (overt and covert tense) ในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
    - ทำแบบฝึกหัดเรื่อง tense
    - นักศึกษาทำกิจกรรมกลุ่มเพื่อหาประโยคที่มีกาลที่น่าสนใจจากข้อความทางธุรกิจในสื่อต่างๆและฝึกแปล
    13 การแปลระดับย่อหน้า 3
    • K1: มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ทฤษฎีการแปลและกระบวนการแปล
    • K2: มีความสามารถในการแปลข้อความทางธุรกิจและสามารถปรับแก้ให้ถูกต้องและสละสลวย
    • K3: มีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะ และไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการแปลข้อความทางธุรกิจ
    • S1: สามารถค้นคว้าหาความรู้ ประยุกต์และนำความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษที่เรียนมาใช้ในการแปลและวางแผนการทำงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย
    - สอนแบบบรรยายและถามคำถามในชั้นเรียนเปิดโอกาสให้อภิปราย
    - นักศึกษาอ่านข้อความทางธุรกิจและฝึกแบ่งประโยคภาษาไทยและฝึกแปล
    - นักศึกษาฝึกแปลคำสรรพนามและคำเชื่อมจากแบบฝึกหัดท้ายบท และการแปลระดับย่อหน้า
    - ทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาที่พบในการแปลคำและประโยคดังกล่าวและหาทางแก้ไข
    14-15 การปรับบทแปล 6
    • K2: มีความสามารถในการแปลข้อความทางธุรกิจและสามารถปรับแก้ให้ถูกต้องและสละสลวย
    • K3: มีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะ และไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการแปลข้อความทางธุรกิจ
    • S1: สามารถค้นคว้าหาความรู้ ประยุกต์และนำความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษที่เรียนมาใช้ในการแปลและวางแผนการทำงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย
    - สอนแบบบรรยายและถามคำถามในชั้นเรียนเปิดโอกาสให้อภิปราย
    - นักศึกษาฝึกแปลข้อความทางธุรกิจที่ประมวลความรู้ทั้งหมดที่เรียนมาจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ
    - นักศึกษาฝึกปรับบทแปล
    - ทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาที่พบในการแปลคำและประโยคดังกล่าวและหาทางแก้ไข
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    ความรับผิดชอบในการส่งงานและการเข้าชั้นเรียน
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    10
    แบบฝึกหัดท้ายบท การให้ผลย้อนกลับกับเพื่อนร่วมชั้น และการแก้ไขแบบฝึกหัด
    • K1: มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ทฤษฎีการแปลและกระบวนการแปล
    • K2: มีความสามารถในการแปลข้อความทางธุรกิจและสามารถปรับแก้ให้ถูกต้องและสละสลวย
    • K3: มีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะ และไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการแปลข้อความทางธุรกิจ
    • S1: สามารถค้นคว้าหาความรู้ ประยุกต์และนำความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษที่เรียนมาใช้ในการแปลและวางแผนการทำงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย
    15
    โครงงานแปล
    • K1: มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ทฤษฎีการแปลและกระบวนการแปล
    • K2: มีความสามารถในการแปลข้อความทางธุรกิจและสามารถปรับแก้ให้ถูกต้องและสละสลวย
    • K3: มีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะ และไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการแปลข้อความทางธุรกิจ
    • S1: สามารถค้นคว้าหาความรู้ ประยุกต์และนำความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษที่เรียนมาใช้ในการแปลและวางแผนการทำงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ
    25
    สอบกลางภาค
    • K1: มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ทฤษฎีการแปลและกระบวนการแปล
    • K2: มีความสามารถในการแปลข้อความทางธุรกิจและสามารถปรับแก้ให้ถูกต้องและสละสลวย
    • K3: มีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะ และไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการแปลข้อความทางธุรกิจ
    • S1: สามารถค้นคว้าหาความรู้ ประยุกต์และนำความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษที่เรียนมาใช้ในการแปลและวางแผนการทำงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย
    25
    ่สอบปลายภาค
    • K1: มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ทฤษฎีการแปลและกระบวนการแปล
    • K2: มีความสามารถในการแปลข้อความทางธุรกิจและสามารถปรับแก้ให้ถูกต้องและสละสลวย
    • K3: มีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะ และไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการแปลข้อความทางธุรกิจ
    • S1: สามารถค้นคว้าหาความรู้ ประยุกต์และนำความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษที่เรียนมาใช้ในการแปลและวางแผนการทำงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย
    25
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา อังคณา ทองพูน พัฒนศร. (2559). การแปลเชิงธุรกิจเบื้องต้น. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์ภายในคณะ
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 4.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

    1. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (Knowledge)
    1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
    1.2 มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย รวมถึงการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    1.3 มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพื่อ การสื่อสาร แสวงหาความรู้ และค้นคว้าวิจัย
    1.4 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษที่ใช้ในบริบทสังคมโลก
    1.5 มีความรอบรู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันของประเทศและของโลก

    2. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ (Skills)
    2.1 มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน ในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.2 สามารถวางแผนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย ทำโครงงาน หรือทำวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
    2.3 สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาในการเรียน การทำงาน และแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้สารสนเทศ ความรู้และประสบการณ์ของตนอย่างสร้างสรรค์
    2.4 สามารถสร้างสรรค์ผลงานจากความรู้ที่เรียน

    3. ผลการเรียนรู้ด้านจริยธรรม (Ethics)
    3.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    3.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    3.3 มีจิตสาธารณะ ร่วมมือร่วมใจเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
    3.4 มีความประพฤติดี มีมารยาทสังคม รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้

    4. ผลการเรียนรู้ด้านลักษณะบุคคล
    4.1 มีภาวะผู้นำ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน
    4.2 เป็นผู้ที่ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม มีการสื่อสารที่ดี มีตรรกะ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 มีความตระหนักถึงผู้ประกอบการ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    4.4 ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ