Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
English
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS113610
ภาษาไทย
Thai name
การสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
ภาษาอังกฤษ
English name
Teaching Content and Language Integrated Learning
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์บัญชาการ สมีเพ็ชร
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์บัญชาการ สมีเพ็ชร
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษาสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับวิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง การออกแบบรายวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และการวิเคราะห์ความต้องการการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
    • นักศึกษาเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทได้
    • นักศึกษาวิเคราะปัญหาที่ซับซ้อนที่เกิดขึ้นกับสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง วิเคราะห์ภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมทางการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในบริบทต่างๆ และเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างเหมาะสมภายใต้ข้อจำกัดต่างๆ
    • นักศึกษาประยุกต์ใช้วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และสร้างสื่อการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง ได้อย่างเหมาะสม
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษาตระหนักรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์การสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • นักศึกษาคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับประเด็นสำคัญในการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • นักศึกษาเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • นักศึกษาทำงานแบบร่วมมือกับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่แตกต่างหลากหลายเพื่อบรรลุเป้าหมาย
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษารับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง
      • นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเอง
      • นักศึกษาวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง มีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการจัดการเรียนรู้
      • นักศึกษานำองค์ความต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้อย่างรื่นไหล มีคุณธรรมจริยธรรมในการทำงาน และสื่อสารข้ามวัฒนธรรมโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางได้
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      แนวคิดและหลักการการสอนแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา การเลือกและประเมินเนื้อหา การออกแบบบทเรียนและสื่อการสอน วิธีการสอน วิธีการประเมินผลการเรียนรู้
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Concepts and principles of content and language integrated learning, content selection and evaluation, content and material design, teaching method, assessment
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Content and language integrated learning
      • Task-based learning
      • Flipped classroom
      • Experiential learning
      • Case discussion
      • English Medium Instruction
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-2 1. Introduction to the Course
      1.1 Overview of the course (i.e., goals, teaching and learning styles, requirements, and assignment)

      1.2 Significance and implications of the course in relation to teaching

      2. Contextualising English for specific purposes (ESP)
      2.1 Overview of English for specific purposes
      2.2 Situating ESP in English language teaching and learning
      2.3 Situating ESP in the world at large
      6
      • K1: นักศึกษาสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับวิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง การออกแบบรายวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และการวิเคราะห์ความต้องการการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S1: นักศึกษาตระหนักรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์การสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S2: นักศึกษาคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับประเด็นสำคัญในการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S4: นักศึกษาทำงานแบบร่วมมือกับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่แตกต่างหลากหลายเพื่อบรรลุเป้าหมาย
      • C1: นักศึกษารับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง
      • C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเอง
      • C3: นักศึกษาวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง มีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการจัดการเรียนรู้
      1. Presentation stage
      1.1 A lecturer present course syllabus, assignments, and assigned readings.
      1.2 A lecturer delivers a lecture on the topic of ‘Contextualising English for specific purposes’.
      1.3 A lecturer showcases situating ESP in English language teaching and learning.

      2. Practice stage
      2.1 Students discuss situating ESP in English language teaching and learning and situating ESP in the world at large
      in groups and whole class.
      2.2 A lecturer monitors the discussions.

      3. Production stage
      3.1 Students reflect the teaching implications of ESP in Thai educational contexts.
      3.2 A lecturer summarises main lessons and key takeaway messages.

      Teaching materials
      1. Coursebooks and case studies
      2. PowerPoint Presentation
      3. Classroom tasks

      Teaching channels
      1. Zoom Meeting
      2. Google Classroom
      3. Canva
      3-5 3. Understanding the four pillars of ESP
      3.1 Identifying needs in the design of ESP courses and programs
      3.2 Deciding learning objectives for ESP courses and programs
      3.3 Deciding materials and methods in ESP
      3.4 Evaluating learners, instructors, courses, and programs in ESP
      9
      • K1: นักศึกษาสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับวิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง การออกแบบรายวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และการวิเคราะห์ความต้องการการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • K2: นักศึกษาเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทได้
      • S1: นักศึกษาตระหนักรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์การสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S2: นักศึกษาคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับประเด็นสำคัญในการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S4: นักศึกษาทำงานแบบร่วมมือกับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่แตกต่างหลากหลายเพื่อบรรลุเป้าหมาย
      • C1: นักศึกษารับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง
      • C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเอง
      • C3: นักศึกษาวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง มีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการจัดการเรียนรู้
      1. Presentation stage
      1.1 A lecturer present course syllabus, assignments, and assigned readings.
      1.2 A lecturer delivers a lecture on the topic of ‘Understanding the four pillars of ESP’.
      1.3 A lecturer showcases practical aspects of how to use the four pillars of ESP.

      2. Practice stage
      2.1 Students discuss ways to identify needs in the design of ESP courses and programs, how to decide learning objectives for ESP courses and programs, how to decide materials and methods in ESP, how to evaluate learners, instructors, courses, and programs in ESP in groups and whole class.
      2.2 A lecturer monitors the discussions.
      2.3 Students analyse authentic ESP courses.

      3. Production stage
      3.1 Students reflect the teaching implications of the four pillars of ESP in Thai educational contexts.
      3.2 A lecturer summarises main lessons and key takeaway messages.

      Teaching materials
      1. Coursebooks and case studies
      2. PowerPoint Presentation
      3. Classroom tasks

      Teaching channels
      1. Zoom Meeting
      2. Google Classroom
      3. Canva
      6-8 4. Examples of authentic ESP courses
      4.1 Language in the workplace
      4.2 English for cross-cultural nursing
      4.3 English for lawyers
      4.4 Airport English
      4.5 English in academic settings
      4.6 Programme for business-English majors
      9
      • K1: นักศึกษาสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับวิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง การออกแบบรายวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และการวิเคราะห์ความต้องการการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • K2: นักศึกษาเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทได้
      • K3: นักศึกษาวิเคราะปัญหาที่ซับซ้อนที่เกิดขึ้นกับสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง วิเคราะห์ภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมทางการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในบริบทต่างๆ และเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างเหมาะสมภายใต้ข้อจำกัดต่างๆ
      • S1: นักศึกษาตระหนักรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์การสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S2: นักศึกษาคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับประเด็นสำคัญในการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S4: นักศึกษาทำงานแบบร่วมมือกับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่แตกต่างหลากหลายเพื่อบรรลุเป้าหมาย
      • C1: นักศึกษารับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง
      • C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเอง
      • C3: นักศึกษาวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง มีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการจัดการเรียนรู้
      1. Presentation stage
      1.1 A lecturer present course syllabus, assignments, and assigned readings.
      1.2 A lecturer delivers a lecture on the topic of ‘Examples of authentic ESP courses’.
      1.3 A lecturer showcases authentic ESP courses in different contexts.

      2. Practice stage
      2.1 Students discuss language in the workplace, English for cross-cultural nursing, English for lawyers, airport English, English in academic settings, and programme for business-English majors in groups and whole class.
      2.2 A lecturer monitors the discussions.
      2.3 Students analyse authentic ESP courses.

      3. Production stage
      3.1 Students reflect the teaching implications of authentic ESP courses in Thai educational contexts.
      3.2 A lecturer summarises main lessons and key takeaway messages.

      Teaching materials
      1. Coursebooks and case studies
      2. PowerPoint Presentation
      3. Classroom tasks

      Teaching channels
      1. Zoom Meeting
      2. Google Classroom
      3. Canva
      10-12 5. Approaches to ESP course design
      5.1 Genre
      5.2 Discourse analysis
      5.3 Corpora
      5.4 Discipline-based methodologies
      5.5 Specific EAP approaches
      5.6 The role of materials
      5.7 Resources
      9
      • K1: นักศึกษาสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับวิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง การออกแบบรายวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และการวิเคราะห์ความต้องการการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • K2: นักศึกษาเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทได้
      • K3: นักศึกษาวิเคราะปัญหาที่ซับซ้อนที่เกิดขึ้นกับสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง วิเคราะห์ภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมทางการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในบริบทต่างๆ และเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างเหมาะสมภายใต้ข้อจำกัดต่างๆ
      • S1: นักศึกษาตระหนักรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์การสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S2: นักศึกษาคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับประเด็นสำคัญในการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S4: นักศึกษาทำงานแบบร่วมมือกับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่แตกต่างหลากหลายเพื่อบรรลุเป้าหมาย
      • C1: นักศึกษารับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง
      • C3: นักศึกษาวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง มีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการจัดการเรียนรู้
      • C4: นักศึกษานำองค์ความต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้อย่างรื่นไหล มีคุณธรรมจริยธรรมในการทำงาน และสื่อสารข้ามวัฒนธรรมโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางได้
      1. Presentation stage
      1.1 A lecturer present course syllabus, assignments, and assigned readings.
      1.2 A lecturer delivers a lecture on the topic of ‘Approaches to ESP course design’.
      1.3 A lecturer showcases how to use approaches to ESP course design in Thai educational contexts.

      2. Practice stage
      2.1 Students discuss different approaches to ESP course design in groups and whole class.
      2.2 A lecturer monitors the discussions.
      2.3 Students practise using approaches to ESP course design.

      3. Production stage
      3.1 Students reflect the teaching implications of approaches to ESP course design in Thai educational contexts.
      3.2 A lecturer summarises main lessons and key takeaway messages.

      Teaching materials
      1. Coursebooks and case studies
      2. PowerPoint Presentation
      3. Classroom tasks

      Teaching channels
      1. Zoom Meeting
      2. Google Classroom
      3. Canva
      13-16 5. Applying ESP in real-world settings
      5.1 Implementing ESP in ideal, opportunistic, and ‘just-in-time’ settings
      5.2 Dealing with challenges in ESP
      5.3 Language and skills in ESP
      5.4 Vocabulary and ESP
      5.5 Teaching ESP
      5.6 Learning ESP
      5.7 Technology and ESP
      5.8 Assessment of ESP
      12
      • K1: นักศึกษาสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับวิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง การออกแบบรายวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และการวิเคราะห์ความต้องการการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • K2: นักศึกษาเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทได้
      • K3: นักศึกษาวิเคราะปัญหาที่ซับซ้อนที่เกิดขึ้นกับสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง วิเคราะห์ภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมทางการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในบริบทต่างๆ และเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างเหมาะสมภายใต้ข้อจำกัดต่างๆ
      • K4: นักศึกษาประยุกต์ใช้วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และสร้างสื่อการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง ได้อย่างเหมาะสม
      • S1: นักศึกษาตระหนักรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์การสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S3: นักศึกษาเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S4: นักศึกษาทำงานแบบร่วมมือกับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่แตกต่างหลากหลายเพื่อบรรลุเป้าหมาย
      • C1: นักศึกษารับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง
      • C3: นักศึกษาวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง มีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการจัดการเรียนรู้
      • C4: นักศึกษานำองค์ความต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้อย่างรื่นไหล มีคุณธรรมจริยธรรมในการทำงาน และสื่อสารข้ามวัฒนธรรมโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางได้
      1. Presentation stage
      1.1 A lecturer present course syllabus, assignments, and assigned readings.
      1.2 A lecturer delivers a lecture on the topic of ‘Applying ESP in real-world settings’.
      1.3 A lecturer showcases how to teach ESP in Thai educational contexts.

      2. Practice stage
      2.1 Students discuss different teaching approaches to ESP in groups and whole class.
      2.2 A lecturer monitors the discussions.
      2.3 Students practise teaching ESP.
      3. Production stage
      3.1 Students reflect the teaching implications of approaches to ESP course design in Thai educational contexts.
      3.2 A lecturer summarises main lessons and key takeaway messages.

      Teaching materials
      1. Coursebooks and case studies
      2. PowerPoint Presentation
      3. Classroom tasks

      Teaching channels
      1. Zoom Meeting
      2. Google Classroom
      3. Canva
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      Class Attendance
      การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
      • A1: นักศึกษารับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง
      • A2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเอง
      • A3: นักศึกษาวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง มีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการจัดการเรียนรู้
      5
      Classroom Tasks
      งานเดี่ยว
      งานกลุ่ม
      • K1: นักศึกษาสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับวิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง การออกแบบรายวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และการวิเคราะห์ความต้องการการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • K2: นักศึกษาเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทได้
      • S1: นักศึกษาตระหนักรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์การสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S2: นักศึกษาคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับประเด็นสำคัญในการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S3: นักศึกษาเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S4: นักศึกษาทำงานแบบร่วมมือกับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่แตกต่างหลากหลายเพื่อบรรลุเป้าหมาย
      • A1: นักศึกษารับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง
      • A2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเอง
      • A3: นักศึกษาวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง มีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการจัดการเรียนรู้
      5
      ESP Teaching Materials
      งานกลุ่ม
      • K1: นักศึกษาสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับวิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง การออกแบบรายวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และการวิเคราะห์ความต้องการการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • K2: นักศึกษาเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทได้
      • K3: นักศึกษาวิเคราะปัญหาที่ซับซ้อนที่เกิดขึ้นกับสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง วิเคราะห์ภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมทางการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในบริบทต่างๆ และเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างเหมาะสมภายใต้ข้อจำกัดต่างๆ
      • K4: นักศึกษาประยุกต์ใช้วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และสร้างสื่อการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง ได้อย่างเหมาะสม
      • S1: นักศึกษาตระหนักรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์การสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S2: นักศึกษาคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับประเด็นสำคัญในการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S4: นักศึกษาทำงานแบบร่วมมือกับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่แตกต่างหลากหลายเพื่อบรรลุเป้าหมาย
      • A1: นักศึกษารับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง
      • A3: นักศึกษาวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง มีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการจัดการเรียนรู้
      • A4: นักศึกษานำองค์ความต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้อย่างรื่นไหล มีคุณธรรมจริยธรรมในการทำงาน และสื่อสารข้ามวัฒนธรรมโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางได้
      20
      ESP Lesson Plans
      งานกลุ่ม
      • K1: นักศึกษาสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับวิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง การออกแบบรายวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และการวิเคราะห์ความต้องการการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • K2: นักศึกษาเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทได้
      • K3: นักศึกษาวิเคราะปัญหาที่ซับซ้อนที่เกิดขึ้นกับสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง วิเคราะห์ภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมทางการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในบริบทต่างๆ และเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างเหมาะสมภายใต้ข้อจำกัดต่างๆ
      • K4: นักศึกษาประยุกต์ใช้วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และสร้างสื่อการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง ได้อย่างเหมาะสม
      • S1: นักศึกษาตระหนักรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์การสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S2: นักศึกษาคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับประเด็นสำคัญในการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S4: นักศึกษาทำงานแบบร่วมมือกับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่แตกต่างหลากหลายเพื่อบรรลุเป้าหมาย
      • A1: นักศึกษารับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง
      • A3: นักศึกษาวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง มีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการจัดการเรียนรู้
      • A4: นักศึกษานำองค์ความต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้อย่างรื่นไหล มีคุณธรรมจริยธรรมในการทำงาน และสื่อสารข้ามวัฒนธรรมโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางได้
      20
      ESP Teaching Practices
      งานกลุ่ม
      • K1: นักศึกษาสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับวิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง การออกแบบรายวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และการวิเคราะห์ความต้องการการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • K2: นักศึกษาเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทได้
      • K3: นักศึกษาวิเคราะปัญหาที่ซับซ้อนที่เกิดขึ้นกับสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง วิเคราะห์ภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมทางการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในบริบทต่างๆ และเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างเหมาะสมภายใต้ข้อจำกัดต่างๆ
      • K4: นักศึกษาประยุกต์ใช้วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และสร้างสื่อการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง ได้อย่างเหมาะสม
      • S1: นักศึกษาตระหนักรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์การสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S2: นักศึกษาคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับประเด็นสำคัญในการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S4: นักศึกษาทำงานแบบร่วมมือกับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่แตกต่างหลากหลายเพื่อบรรลุเป้าหมาย
      • A1: นักศึกษารับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง
      • A3: นักศึกษาวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง มีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการจัดการเรียนรู้
      • A4: นักศึกษานำองค์ความต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้อย่างรื่นไหล มีคุณธรรมจริยธรรมในการทำงาน และสื่อสารข้ามวัฒนธรรมโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางได้
      40
      ESP Teaching Reflection
      งานกลุ่ม
      • K2: นักศึกษาเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง และอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทได้
      • K3: นักศึกษาวิเคราะปัญหาที่ซับซ้อนที่เกิดขึ้นกับสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง วิเคราะห์ภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมทางการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในบริบทต่างๆ และเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างเหมาะสมภายใต้ข้อจำกัดต่างๆ
      • S1: นักศึกษาตระหนักรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์การสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S2: นักศึกษาคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับประเด็นสำคัญในการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S3: นักศึกษาเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
      • S4: นักศึกษาทำงานแบบร่วมมือกับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่แตกต่างหลากหลายเพื่อบรรลุเป้าหมาย
      • A1: นักศึกษารับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง
      • A3: นักศึกษาวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง มีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการจัดการเรียนรู้
      10
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา Anthony, L. (2018). Introducing English for Specific Purposes. Routledge. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Basturkmen, H. (2010). Developing Courses in English for Specific Purposes. Palgrave Macmillan. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Woodrow, L. (2018). Introducing Course Design in English for Specific Purposes. Routledge. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 4.4

      รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

      1. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (Knowledge)
      1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
      1.2 มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย รวมถึงการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
      1.3 มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพื่อ การสื่อสาร แสวงหาความรู้ และค้นคว้าวิจัย
      1.4 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษที่ใช้ในบริบทสังคมโลก
      1.5 มีความรอบรู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันของประเทศและของโลก

      2. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ (Skills)
      2.1 มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน ในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
      2.2 สามารถวางแผนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย ทำโครงงาน หรือทำวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
      2.3 สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาในการเรียน การทำงาน และแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้สารสนเทศ ความรู้และประสบการณ์ของตนอย่างสร้างสรรค์
      2.4 สามารถสร้างสรรค์ผลงานจากความรู้ที่เรียน

      3. ผลการเรียนรู้ด้านจริยธรรม (Ethics)
      3.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
      3.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      3.3 มีจิตสาธารณะ ร่วมมือร่วมใจเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
      3.4 มีความประพฤติดี มีมารยาทสังคม รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้

      4. ผลการเรียนรู้ด้านลักษณะบุคคล
      4.1 มีภาวะผู้นำ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน
      4.2 เป็นผู้ที่ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม มีการสื่อสารที่ดี มีตรรกะ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      4.3 มีความตระหนักถึงผู้ประกอบการ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      4.4 ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ