รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาพัฒนาสังคม
Social Development
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
แนะนำรายวิชาและการเรียนการสอน หน่วยที่ 1 ปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนา 1.1 ปรัชญาของการพัฒนา 1.2 ขอบเขตการพัฒนา 1.3 ความหมายการพัฒนา |
3 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.แนะนำรายวิชา/ชี้แจงกระบวนการเรียนการสอน และการส่งงานผ่านระบบ KKU E-Learning หรือโปรแกรม Google Classroom 2.นักศึกษาทำ Pre-test 3.บรรยายในชั้นเรียน 4.นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกันในแต่ละหน่วย พร้อมแบ่งกลุ่มสำหรับทำใบงาน 5.สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน 1.เอกสารแผนการสอน, 2.PowerPoint, 3.Multimedia (YouTube), 4.Pre-test |
|
2-3 |
หน่วยที่ 2 ทฤษฎีการพัฒนากระแสหลักที่ใช้ในการศึกษาชุมชน 2.1 ทฤษฎีวิวัฒนาการ 2.2 ทฤษฎีความเจริญเติบโต 2.3 ทฤษฎีความทันสมัย 2.4 แนวคิดเสรีนิยมใหม่ 2.5 แนวคิดทุนทางสังคมกับการพัฒนา |
6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.นำเข้าสู่บทเรียนโดยบรรยายในชั้นเรียน 2.นักศึกษาทำแบบฝึกหัด Case Discussion (ใบงานที่ 1 งานกลุ่ม) ผ่านระบบ KKU E-Learning หรือ Google Classroom 3.นักศึกษานำเสนอผลงานนักศึกษาและอาจารย์อภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกันในแต่ละหน่วยในชั้นเรียน 4.สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน 1.PowerPoint, 2.Multimedia (YouTube), 3.ใบงานที่ 1 (งานกลุ่ม) |
|
4-7 |
หน่วยที่ 3 แนวคิดเชิงวิพากษ์ที่ใช้ในการศึกษาชุมชน 3.1 พัฒนาการของแนวคิดเชิงวิพากษ์ 3.2 แนวคิดมาร์กซิสต์ 3.3 แนวคิดมาร์กซิสต์ใหม่ 3.4 แนวคิดหลังทันสมัย |
12 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.นำเข้าสู่บทเรียนโดยบรรยายในชั้นเรียน 2.นักศึกษาทำแบบฝึกหัด Case Discussion (ใบงานที่ 2 งานกลุ่ม) ผ่านระบบ KKU E-Learning หรือ Google Classroom 3.นักศึกษานำเสนอผลงานนักศึกษาและอาจารย์อภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกันในแต่ละหน่วยในชั้นเรียน 4.สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย 5.สอบย่อย (เนื้อหาจากหน่วยที่ 1-3) สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน 1.PowerPoint, 2.Multimedia (YouTube), 3.ใบงานที่ 2 (งานกลุ่ม), 4.สอบย่อย (Quiz) |
|
8-9 |
หน่วยที่ 4 ยุทธศาสตร์การพัฒนากับความยากจนของประชาสังคม 4.1 ความหมายและประเภทของยุทธศาสตร์การพัฒนา 4.2 ความยากจน 4.3 การแก้ไขปัญหาความยากจนโดยภาครัฐ 4.4 การแก้ไขปัญหาความยากจนโดยประชาสังคม |
6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.บรรยายในชั้นเรียน 2.นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกันในแต่ละหน่วย 3.สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน 1.เอกสารแผนการสอน, 2.PowerPoint, 3.Multimedia (YouTube) |
|
10-11 |
หน่วยที่ 5 สิทธิมนุษยชนและสิทธิชุมชน 5.1 สิทธิมนุษยชน 5.2 สิทธิชุมชน |
6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.บรรยายในชั้นเรียน 2.นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกันในแต่ละหน่วย 3.สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน 1.เอกสารแผนการสอน, 2.PowerPoint, 3.Multimedia (YouTube) |
|
12-13 |
หน่วยที่ 6 การมีส่วนร่วมของประชาชน 6.1 ความหมายและความสำคัญของการมีส่วนร่วม 6.2 ขั้นตอน เงื่อนไข และระดับของการมีส่วนร่วม 6.3 ปัญหาและอุปสรรคของการมีส่วนร่วมในงานพัฒนา |
6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.บรรยายในชั้นเรียน 2.นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกันในแต่ละหน่วย 3.สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน 1.เอกสารแผนการสอน, 2.PowerPoint, 3.Multimedia (YouTube) |
|
14-15 |
หน่วยที่ 7 ความอยู่ดีมีสุข 7.1 ความหมายของความอยู่ดีมีสุข 7.2 องค์ประกอบของความอยู่ดีมีสุข 7.3 ตัวชี้วัดความอยู่ดีมีสุข |
6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.บรรยายในชั้นเรียน 2.นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกันในแต่ละหน่วย 3.สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย 4.นักศึกษาทำ Post-test สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน 1.เอกสารแผนการสอน, 2.PowerPoint, 3.Multimedia (YouTube), 4.Post-test |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
ใบงานและรายงาน (งานกลุ่ม) |
|
50 | สัปดาห์ที่ 1-7 และสัปดาห์ที่ 12-13 |
สอบย่อย (Quiz) |
|
15 | สัปดาห์ที่ 8-9 |
สอบปลายภาค |
|
35 | อ้างอิงตามปฏิบัติการศึกษาของ มข. |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | บัวพันธ์ พรหมพักพิง. (2551). แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา. ขอนแก่น : โรงพิมพ์ขอนแก่นการพิมพ์. | อาจารย์ภายในคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา | ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2542). วาทกรรมการพัฒนา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิภาษา. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | บทความในฐานที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ (SCOPUS และ TCI) ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสังคม | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
YouTube | เนื้อหาต่าง ๆ ตั้งแต่อดึตจนถึงปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสังคม | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 3.4 | 3.5 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 5.1 | 5.2 | 5.3 | 5.4 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
1. ด้านความรู้
1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด และทฤษฎีสำคัญสำหรับการพัฒนาสังคมในขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ของหลักสูตร
1.2 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชาพัฒนาสังคม รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางพัฒนาสังคม
1.3 สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2. ด้านทักษะ
2.1 สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ ติดตามความก้าวหน้าในศาสตร์ รู้วิธีแก้ปัญหา และต่อยอด
องค์ความรู้ได้
2.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาอย่างเหมาะสม
2.3 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ในการแก้ปัญหาทางวิชาการและการทำงาน
2.4 มีความฉลาดทางอารมณ์ บริหารจัดการภายใต้ความกดดันทางสังคม
3. ด้านจริยธรรม
3.1 ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
3.2 มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา และเคารพกติกาของสังคม
3.3 ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3.4 รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
3.5 มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย
4. ด้านลักษณะบุคคล
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม และมีจิตใจในการให้บริการที่ดี
5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีทักษะกระบวนการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสถิติในระดับพื้นฐาน ในการแสวงหาความรู้เพื่อการปฏิบัติงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
5.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสาร และค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3 ใช้ภาษาไทยได้ดีทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและให้เหมาะสมกับสถานการณ์
5.4 มีความสามารถในการใช้เครื่องมือที่หลากหลายและเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้อย่างเหมาะสม