รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาพัฒนาสังคม
Social Development
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 | แนะนำรายวิชา ข้อตกลงเบื้องต้น | 3 |
|
(1) เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงาน อธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน (2) แจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน (3) อาจารย์ตอบข้อซักถาม |
|
2 |
พัฒนาการของระบบเศรษฐกิจและสังคมโลก -การปฏิวัติการเกษตรกรรม -การปฏิวัติอุตสาหกรรม -การปฏิวิติเขียว -สังคมแห่งการเรียนรู้ |
3 |
|
(1) พบนักศึกษา (2) การบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาซักถาม อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อในการเรียน (4) อาจารย์ ตอบข้อซักถาม ประมวลสรุปการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของนักศึกษา (5) มอบหมายให้นักศึกษาทำการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชาในหัวข้อต่อไป |
|
3-4 |
พัฒนาการระบบเศรษฐกิจและสังคมไทย -เกษตรกรรม -อุตสาหกรรม |
6 |
|
(1) พบนักศึกษา (2) การบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาซักถาม อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อในการเรียน (4) อาจารย์ ตอบข้อซักถาม ประมวลสรุปการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของนักศึกษา (5) มอบหมายให้นักศึกษาทำการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชาในหัวข้อต่อไป |
|
5-6 | การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมเกษตรกรรมไทย | 6 |
|
(1) พบนักศึกษา (2) การบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาซักถาม อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อในการเรียน (4) อาจารย์ ตอบข้อซักถาม ประมวลสรุปการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของนักศึกษา (5) มอบหมายให้นักศึกษาทำการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชาในหัวข้อต่อไป |
|
7-9 | ภูมิทัศน์ของสังคมชนบทที่เปลี่ยนรูปและการปรับตัวของชาวนา | 9 |
|
(1) พบนักศึกษา (2) การบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาซักถาม อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อในการเรียน (4) อาจารย์ ตอบข้อซักถาม ประมวลสรุปการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของนักศึกษา (5) มอบหมายให้นักศึกษาทำการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชาในหัวข้อต่อไป |
|
10-11 | มุมมองใหม่ต่อสังคมชาวนาในยุคโลกาภิวัฒน์ | 6 |
|
(1) พบนักศึกษา (2) การบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาซักถาม อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อในการเรียน (4) อาจารย์ ตอบข้อซักถาม ประมวลสรุปการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของนักศึกษา |
|
12 | การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจในยุคเสรีนิยมใหม่ | 3 |
|
(1) พบนักศึกษา (2) การบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาซักถาม อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อในการเรียน (4) อาจารย์ ตอบข้อซักถาม ประมวลสรุปการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของนักศึกษา (5) มอบหมายให้นักศึกษาทำการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชาในหัวข้อต่อไป |
|
13-14 | การเติบโตของภาคบริการและการท่องเที่ยว การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน | 6 |
|
(1) พบนักศึกษา (2) การบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาซักถาม อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อในการเรียน (4) อาจารย์ ตอบข้อซักถาม ประมวลสรุปการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของนักศึกษา (5) มอบหมายให้นักศึกษาทำการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชาในหัวข้อต่อไป |
|
15 | สังคมแห่งการเรียนรู้ องค์กรแห่งการเรียนรู้ | 3 |
|
(1) พบนักศึกษา (2) การบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาซักถาม อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อในการเรียน (4) อาจารย์ ตอบข้อซักถาม ประมวลสรุปการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของนักศึกษา |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
สอบกลางภาค |
|
30 | |
สอบปลายภาค |
|
30 | |
การค้นคว้าด้วยตนเองและการทำรายงาน K1, S1, S2,A1 |
|
30 | |
การมีส่วนร่วมในการเรียน |
|
10 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
< เพิ่มตำราและเอกสารประกอบการสอน และโปรดเขียนตามหลักบรรณานุกรม > กนกรัตน์ เลิศชูสกุล (2564) สงครามเย็น(ใน)ระหว่างโบว์ขาว.สำนักพิมพ์มติชน. กรุงเทพฯ คริส เบเคอร์ และผาสุก พงษ์ไพจิต.(2557).ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย. สำนักพิมพ์มติชน. กรุงเทพฯ จามมะรี เชียงทอง.(2553).การพัฒนาในสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ :จากมาร์กซิสม์ถึงเสรีนิยมใหม่และการสร้างชนบทลาวในโลกสมัยใหม่.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม.(2557).อนาคตเกษตรกรรมไทย. สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ปัทมา โพชนุกูล(ซูซูกิ) (2556).ปาฐกถาพิเศษในการสัมนาทางวิชาการ สายงานเศรษฐกิจ ประจำปี 2556 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์ .(2549).วิถีใหม่แห่งการพัฒนา: วิธีวิทยาศึกษาสังคมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 4.กรุงเทพฯ : คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผาสุก พงษ์ไพจิตร.(บรรณาธิการ).(2549ก).การต่อสู้ขอทุนไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ: มติชน ______________.(บรรณาธิการ).(2549ข).การต่อสู้ขอทุนไทย เล่ม 2. กรุงเทพฯ: มติชน _______________.(บรรณาธิการ).2557.สู่สังคมไทยเสมอหน้า.กรุงเทพฯ.มติชน พัฒนา กิติอาษา.( 2546).ท้องถิ่นนิยม การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคิด. คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา สำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.กรุงเทพฯ : ไทเกอร์ พริ้นติ้ง นิธิ เอียวศรีวงศ์.(2536).รายงานประกอบการประชุมบนหนทางสู่อนาคตการประชุมวิชาการปี2536 ปัญหาท้าทายสังคมไทย:ใครจะได้อะไร อย่างไร? มณีมัย ทองอยู่.(2546).การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจชาวนาอีสาน กรณีชาวนาลุ่มน้ำพอง.กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี มานะ นาคำและคณะ.(2559)รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการความเปลี่ยนแปลงและการสร้างประชาธิปไตยชนบทอีสาน.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.กรุงเทพฯ แมคคาร์โก.(2555).มองการเมืองไทยจากมุมมองแบบหลังอาณานิคม. อ้างถึงใน ดาริน อินทร์เหมือน.นิตยสารฟ้าเดียวกัน,ปีที่ 10ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2555. นนทบุรี: สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน. ยศ สันตสมบัติ.(2546).พลวัตและความยืดหยุ่นของสังคมชาวนา : เศรษฐกิจ ชุมชนภาคเหนือ การปรับกระบวนทัศน์ว่าด้วยชุมชนในประเทศโลกที่สาม. ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน. เชียงใหม่.คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : วิทอินดีไซน์ จำกัด. ลัทธพรรณ บัวผุย.(2562).ชมรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ภูป่าเปาะกับการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน.สารนิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิตพัฒนาสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยลัยขอนแก่น วิทยากร เชียงกูล .(2548).เศรษฐกิจไทย ปัญหาและทางแก้. กรุงเทพฯ: สายธาร ______________ .(2557).ปฎิรูปประเทศไทย เศรษฐกิจ- การเมือง.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บุ๊ค ด๊อท คอม. สมชัย ภัทรธนานันท์ เขียน อัญชลี มณีโรจน์ แปล. การเมืองของสังคมหลังชาวนา : เงื่อนไขการก่อตัวของคนเสื้อแดงในภาคอีสาน. ในนิตยสารฟ้าเดียวกัน ปีที่ 10, ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555. สุวิทย์ ธีรศาสวัต.(2546).ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสาน2488-2544. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์. อรรถจักร สัตยานุรักษ์.(2559). ลืมตาอ้าปาก จาก “ชาวนา” สู่ “ผู้ประกอบการ” .สำนักพิมพ์มติชน กรุงเทพฯ อภิชาต สถิตนิรามัยและคณะ.(2556).รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยทบทวนภูมิทัศน์การเมืองไทย. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) อภิชาต สถิตนิรามัยและอิสร์กุล อุณหเกตุ(2564) ทุน วัง คลัง(ศักดิ)นา สมรภูมิเศรษฐกิจ การเมืองไทยกับประชาธิปไตยที่ไม่ลงหลักปักฐาน. สำนักพิมพ์มติชน กรุงเทฑฯ อานันท์ กาญจนพันธุ์ .(2554). “ชนบทอีสานปรับโครงสร้าง : ชาวบ้านปรับอะไร”ในวารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี,ฉบับพิเศษ1 เสรีนิยมใหม่ในเศรษฐกิจอีสาน หน้า 5-41 . Hoggart, Keith and Paniagua, Angel. (2001). “What Rural Restructuring?”. In Journal of Rural Studies, 17(2001), pp. 41-62. Keyes, Charles. (2010). “Cosmopolinta” Villagers and Populist Democracy in Thailand. A conference on “Revisiting Agrarian Transformations in Southeast Asia,” Chiang Mai, Thailand. Raynolds, Laura. (1977). “Restructuring National Agriculture, Agro-Food Trade, and Agrarian Livelihoods in the Caribbean”. in Goodman, David and Watts, Michael J. (editors). Globalising Food: Agrarian Questions and Global Restructuring. London and New York: Routledge, pp. 86-96. Rigg ,Jonathan Vandergeest,Perter (2012). Revisiting Rural Places Pathways to Poverty and Prosperity in Southest Asia.National University of Singapore.Singapore. Rigg, Jonathan. (1997). Southeast Asia “the human landscape of modernization and development”. By Routledge : London. Terry Marsden, Philip Lowe, & Sarah Whatmore. (1990). Rural Restructuring : Global processes and their responses. London: David Fulton Publishers Ltd. Walker, Andrew. (2012). THAILAND’S POLITAL PEASANTS Power In the Modern Rural Economy. University of Wisconsin Press. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 3.4 | 3.5 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 5.1 | 5.2 | 5.3 | 5.4 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
1. ด้านความรู้
1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด และทฤษฎีสำคัญสำหรับการพัฒนาสังคมในขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ของหลักสูตร
1.2 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชาพัฒนาสังคม รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางพัฒนาสังคม
1.3 สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2. ด้านทักษะ
2.1 สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ ติดตามความก้าวหน้าในศาสตร์ รู้วิธีแก้ปัญหา และต่อยอด
องค์ความรู้ได้
2.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาอย่างเหมาะสม
2.3 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ในการแก้ปัญหาทางวิชาการและการทำงาน
2.4 มีความฉลาดทางอารมณ์ บริหารจัดการภายใต้ความกดดันทางสังคม
3. ด้านจริยธรรม
3.1 ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
3.2 มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา และเคารพกติกาของสังคม
3.3 ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3.4 รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
3.5 มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย
4. ด้านลักษณะบุคคล
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม และมีจิตใจในการให้บริการที่ดี
5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีทักษะกระบวนการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสถิติในระดับพื้นฐาน ในการแสวงหาความรู้เพื่อการปฏิบัติงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
5.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสาร และค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3 ใช้ภาษาไทยได้ดีทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและให้เหมาะสมกับสถานการณ์
5.4 มีความสามารถในการใช้เครื่องมือที่หลากหลายและเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้อย่างเหมาะสม