รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาพัฒนาสังคม
Social Development
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2568
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
แนะนำวิชาและการประเมินผลการเรียน ความเป็นมา ความหมาย ความสำคัญ แนวคิดที่เกี่ยวข้อง |
8 | 6 |
|
บรรยาย เรื่อง ความเป็นมา ความหมายและความสำคัญของวิสาหกิจเพื่อสังคม แนวคิดที่เกี่ยวข้อง ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกมส์ตอบคำถาม (เช่น Kahoot, Quizizz) ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน ทำแบบทดสอบ (Pretest) หนังสือ หรือ ตำรา บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ YouTube เอกสารประกอบการสอน ในห้องเรียน Google Classroom |
2 |
ความหมาย คุณลักษณะสำคัญของผู้ประกอบการสังคม ความแตกต่างระหว่างผู้ประกอบการและผู้ประกอบการสังคม |
8 | 6 |
|
บรรยาย เรื่อง ความหมาย คุณลักษณะสำคัญของผู้ประกอบการสังคม ความแตกต่างระหว่างผู้ประกอบการสังคมและผู้ประกอบการ ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกมส์ตอบคำถาม (เช่น Kahoot, Quizizz) ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน Quiz 1 หนังสือ หรือ ตำรา บทวิจัย หรือบทความวิชาการ แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ YouTube ในห้องเรียน Google Classroom |
3 |
ผู้ประกอบการสังคมในต่างประเทศ ผู้ประกอบการสังคมไทย นโบายและมาตรการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง แนวทางการส่งเสริมผู้ประกอบการสังคมในประเทศไทย |
8 | 6 |
|
บรรยาย เรื่อง ผู้ประกอบการสังคมในต่างประเทศ ผู้ประกอบการสังคมไทย นโบายและมาตรการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง แนวทางการส่งเสริมผู้ประกอบการสังคมในประเทศไทย ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น (วิเคราะห์กรณีศึกษา) เกมส์ตอบคำถาม (เช่น Kahoot, Quizizz) ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน ทำแบบทดสอบ Quiz 2 บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ YouTube ในห้องเรียน Google Classroom |
4 |
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ (คืออะไร มีอะไร) ผู้ประกอบการสังคมกับเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ การเป็นผู้ประกอบการดิจิทัล |
8 | 6 |
|
บรรยาย เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ (คืออะไร มีอะไร) ผู้ประกอบการสังคมกับเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ การเป็นผู้ประกอบการดิจิทัล ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกมส์ตอบคำถาม (เช่น Kahoot, Quizizz) ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน ทำแบบทดสอบ Quiz 3 หนังสือ หรือ ตำรา บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ YouTube เอกสารประกอบการสอน ในห้องเรียน Google Classroom |
5 |
แนวทางการสร้างเทคโนโลยีสมัยใหม่สำหรับผู้ประกอบการสังคม ผู้ประกอบการสังคมดิจิทัล |
8 | 6 |
|
บรรยาย เรื่อง แนวทางการสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่สำหรับผู้ประกอบการสังคมสู่การเป็นผู้ประกอบการดิจิทัล ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกมส์ตอบคำถาม (เช่น Kahoot, Quizizz) ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน ทำแบบทดสอบ Quiz 3 หนังสือ หรือ ตำรา บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ YouTube เอกสารประกอบการสอน ในห้องเรียน Google Classroom ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
6 |
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่สำหรับผู้ประกอบการสังคมสู่การเป็นผู้ประกอบการดิจิทัล สอบปลายภาค |
8 | 6 |
|
ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา นำเสนอโครงการ (วิสาหกิจเพื่อสังคม) ผสำท้อนการเป็นผู้ประกอบการสังคมดิจิทัล ในห้องเรียน Google Classroom สอบปลายภาค |
7- 13 | ฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ | 0 | 42 |
|
ฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ |
14-15 | รายงานผลการศึกษาองค์กร | 12 | 12 |
|
นักศึกษานำเสนอรายงานผลการศึกษาองค์กร ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในห้องเรียน Google Classroom |
รวมจำนวนชั่วโมง | 60 | 90 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม |
|
5 | |
งานเดี่ยว |
|
20 | |
งานกลุ่ม (รายงานและงานกลุ่ม) |
|
30 | |
สอบปลายภาค |
|
25 | |
สอบย่อยประจำสัปดาห์ (4 ครั้ง) |
|
20 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 80 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Understanding Social Enterprise: Theory and Practice by Rory Ridley-Duff & Mike Bull Social Enterprise in Western Europe: Theory, Models, and Practice by Jacques Defourny and Marthe Nyssens Social Entrepreneurship: Theory and Practice by Ryszard Praszkier Social Entrepreneurship: En Evidence-Based Approach to Creating Social Value by Chao Guo and Wolfgang Bielefeld Social Entrepreneurship: Managing the Creation of Social Value by Constant Beugre |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 3.4 | 3.5 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 5.1 | 5.2 | 5.3 | 5.4 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
1. ด้านความรู้
1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด และทฤษฎีสำคัญสำหรับการพัฒนาสังคมในขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ของหลักสูตร
1.2 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชาพัฒนาสังคม รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางพัฒนาสังคม
1.3 สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2. ด้านทักษะ
2.1 สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ ติดตามความก้าวหน้าในศาสตร์ รู้วิธีแก้ปัญหา และต่อยอด
องค์ความรู้ได้
2.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาอย่างเหมาะสม
2.3 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ในการแก้ปัญหาทางวิชาการและการทำงาน
2.4 มีความฉลาดทางอารมณ์ บริหารจัดการภายใต้ความกดดันทางสังคม
3. ด้านจริยธรรม
3.1 ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
3.2 มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา และเคารพกติกาของสังคม
3.3 ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3.4 รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
3.5 มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย
4. ด้านลักษณะบุคคล
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม และมีจิตใจในการให้บริการที่ดี
5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีทักษะกระบวนการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสถิติในระดับพื้นฐาน ในการแสวงหาความรู้เพื่อการปฏิบัติงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
5.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสาร และค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3 ใช้ภาษาไทยได้ดีทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและให้เหมาะสมกับสถานการณ์
5.4 มีความสามารถในการใช้เครื่องมือที่หลากหลายและเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้อย่างเหมาะสม