Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาพัฒนาสังคม
Social Development
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2568
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS433504
ภาษาไทย
Thai name
แรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
ภาษาอังกฤษ
English name
Labor and Innovations for Social Development in the New Era
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
5(2-9-10)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์วิภาวี กฤษณะภูติ
    • อาจารย์ภีมกร โดมมงคล
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์วิภาวี กฤษณะภูติ
    • อาจารย์ภีมกร โดมมงคล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย องค์ประกอบ ความสำคัญและประเภทของแรงงาน
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย ประเภทของสวัสดิการแรงงาน (ทั้งเป็นตัวเองและไม่เป็นตัวเงิน) ความสำคัญ
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ประเด็นที่น่าสนใจเกี่่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงาน
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแนวคิดและกระบวนทัศน์เกี่ยวกับการบริหารแรงงานและการจัดสวัสดิการแรงงาน
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษาไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น (ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ)
    • นักศึกษาไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
    • นักศึกษามีความซื่สัตย์สุจริต
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    แนวคิด องค์ประกอบ รูปแบบสวัสดิการทั้งเป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน ประเด็น และกระบวนทัศน์และแนวทางการพัฒนาการและการบริหารแรงงานและสวัสดิการความหมาย แนวคิด องค์ประกอบ อิทธิพล พัฒนาการ ของการสื่อสาร การตัดสินใจเลือกใช้รูปแบบ ประเภทและเทคโนโลยีของการสื่อสารที่เหมาะสมต่อการนำไปใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมในหลากหลายมิติและยั่งยืน
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Concepts and elements of monetary and non-monetary welfare patterns, issues, paradigms and guidelines for development and management of labor and welfare, meaning, concept, composition, influence and development of communication, how to decide to use a proper types, styles and information communication technologies in order to make benefit in multidimensional and sustainable social development
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Blended learning
    • Work integrated learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Research-based learning
    • Problem-based learning
    • Task-based learning
    • Project-based learning
    • Flipped classroom
    • Case discussion
    • Seminar
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 แนะนำรายวิชาและเกณฑ์การประเมินผล
    ความหมาย องค์ประกอบ ความสำคัญ ประเภทของแรงงาน
    ความหมาย ประเภทของสวัสดิการ (ทั้งที่เป็นตัวเองและไม่เป็นตัวเงิน) ความสำคัญของสวัสดิการแรงงาน
    ประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงาน

    8 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย องค์ประกอบ ความสำคัญและประเภทของแรงงาน
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย ประเภทของสวัสดิการแรงงาน (ทั้งเป็นตัวเองและไม่เป็นตัวเงิน) ความสำคัญ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น (ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ)
    • E2: นักศึกษาไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
    • E3: นักศึกษามีความซื่สัตย์สุจริต
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    บรรยาย เรื่อง
    1. ความหมาย องค์ประกอบ ความสำคัญ ประเภทของแรงงาน
    2. ความหมาย ประเภทของสวัสดิการ (ทั้งที่เป็นตัวเองและไม่เป็นตัวเงิน) ความสำคัญของสวัสดิการแรงงาน
    3. ประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงาน

    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา ความสำคัญของสวัสดิการแรงงานต่อการพัฒนาสังคม

    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงาน


    เกมส์ตอบคำถาม (เช่น Kahoot, Quizizz)

    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ

    ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน

    ทำแบบทดสอบ (Quiz)


    หนังสือ หรือ ตำรา
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
    YouTube
    ในห้องเรียน
    Google Classroom
    2 กระบวนทัศน์ แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการบริหารแรงงานและสวัสดิการแรงงาน
    ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดสวัสดิการแงงาน
    กรณีศึกษาของการจัดสวัสดิการแรงงานขององค์กร
    8 6
    • K4: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแนวคิดและกระบวนทัศน์เกี่ยวกับการบริหารแรงงานและการจัดสวัสดิการแรงงาน
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น (ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ)
    • E2: นักศึกษาไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
    • E3: นักศึกษามีความซื่สัตย์สุจริต
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    บรรยาย เรื่อง
    1. กระบวนทัศน์ แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการบริหารแรงงานและสวัสดิการแรงงาน
    2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดสวัสดิการแงงาน

    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา ความเปลี่ยนแปลงของการจัดสวัสดิการแงงาน การบริหารแรงงาน
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น กรณีศึกษาของการจัดสวัสดิการแรงงานขององค์กร


    เกมส์ตอบคำถาม (เช่น Kahoot, Quizizz)

    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ

    ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน

    ทำแบบทดสอบ (Quiz)


    หนังสือ หรือ ตำรา
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
    YouTube
    ในห้องเรียน
    Google Classroom
    3 แรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่ 8 6
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • K6: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น (ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ)
    • E2: นักศึกษาไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
    • E3: นักศึกษามีความซื่สัตย์สุจริต
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    บรรยาย เรื่อง
    แรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่

    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา แรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่ และวิเคราะห์กรณีศึกษาของการจัดสวัสดิการแรงงานในยุคใหม่ขององค์กร


    เกมส์ตอบคำถาม (เช่น Kahoot, Quizizz)

    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ

    ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน

    ทำแบบทดสอบ (Quiz)


    หนังสือ หรือ ตำรา
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
    YouTube
    ในห้องเรียน
    Google Classroom
    4 การบริหารแรงงานและการจัดสวัสดิการในยุคใหม่ 8 6
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น (ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ)
    • E2: นักศึกษาไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
    • E3: นักศึกษามีความซื่สัตย์สุจริต
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    บรรยาย เรื่อง
    การบริหารแรงงานและการจัดสวัสดิการในยุคใหม่

    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา ความเปลี่ยนแปลงของการจัดสวัสดิการแงงาน การบริหารแรงงาน
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น กรณีศึกษาของการจัดสวัสดิการแรงงานในยุคใหม่ขององค์กร


    เกมส์ตอบคำถาม (เช่น Kahoot, Quizizz)

    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ

    ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน

    ทำแบบทดสอบ (Quiz)


    หนังสือ หรือ ตำรา
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
    YouTube
    ในห้องเรียน
    Google Classroom
    5 แนวทางการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่ 8 6
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • K6: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น (ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ)
    • E2: นักศึกษาไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
    • E3: นักศึกษามีความซื่สัตย์สุจริต
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    บรรยาย เรื่อง
    แนวทางการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา แนวทางการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น กรณีศึกษาของการจัดสวัสดิการแรงงานในยุคใหม่ขององค์กรในประเด็นเกี่ยวกับการสร้างนวัตกรรม


    เกมส์ตอบคำถาม (เช่น Kahoot, Quizizz)

    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ

    ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน

    ทำแบบทดสอบ (Quiz)


    หนังสือ หรือ ตำรา
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
    YouTube
    ในห้องเรียน
    Google Classroom
    6 การสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    สอบปลายภาค
    8 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย องค์ประกอบ ความสำคัญและประเภทของแรงงาน
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย ประเภทของสวัสดิการแรงงาน (ทั้งเป็นตัวเองและไม่เป็นตัวเงิน) ความสำคัญ
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ประเด็นที่น่าสนใจเกี่่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงาน
    • K4: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแนวคิดและกระบวนทัศน์เกี่ยวกับการบริหารแรงงานและการจัดสวัสดิการแรงงาน
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • K6: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น (ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ)
    • E2: นักศึกษาไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
    • E3: นักศึกษามีความซื่สัตย์สุจริต
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    นักศึกษานำเสนอโครงการ เกี่ยวกับการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่

    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำเสนอโครงการของนักศึกษา

    หนังสือ หรือ ตำรา
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
    YouTube
    ในห้องเรียน
    Google Classroom
    7- 13 ฝึกงานในสถานประกอบการ 0 42
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย องค์ประกอบ ความสำคัญและประเภทของแรงงาน
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย ประเภทของสวัสดิการแรงงาน (ทั้งเป็นตัวเองและไม่เป็นตัวเงิน) ความสำคัญ
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ประเด็นที่น่าสนใจเกี่่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงาน
    • K4: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแนวคิดและกระบวนทัศน์เกี่ยวกับการบริหารแรงงานและการจัดสวัสดิการแรงงาน
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • K6: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น (ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ)
    • E2: นักศึกษาไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
    • E3: นักศึกษามีความซื่สัตย์สุจริต
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    ฝึกงานในสถานประกอบการ
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
    Google Classroom
    14-15 รายงานผลการศึกษาองค์กร 12 12
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย องค์ประกอบ ความสำคัญและประเภทของแรงงาน
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย ประเภทของสวัสดิการแรงงาน (ทั้งเป็นตัวเองและไม่เป็นตัวเงิน) ความสำคัญ
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ประเด็นที่น่าสนใจเกี่่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงาน
    • K4: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแนวคิดและกระบวนทัศน์เกี่ยวกับการบริหารแรงงานและการจัดสวัสดิการแรงงาน
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • K6: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น (ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ)
    • E2: นักศึกษาไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
    • E3: นักศึกษามีความซื่สัตย์สุจริต
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    นักศึกษารายงานผลการศึกษาองค์กร
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

    ในห้องเรียน
    รวมจำนวนชั่วโมง 60 90
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย องค์ประกอบ ความสำคัญและประเภทของแรงงาน
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย ประเภทของสวัสดิการแรงงาน (ทั้งเป็นตัวเองและไม่เป็นตัวเงิน) ความสำคัญ
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ประเด็นที่น่าสนใจเกี่่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงาน
    • K4: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแนวคิดและกระบวนทัศน์เกี่ยวกับการบริหารแรงงานและการจัดสวัสดิการแรงงาน
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • K6: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น (ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ)
    • E2: นักศึกษาไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
    • E3: นักศึกษามีความซื่สัตย์สุจริต
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    5
    งานเดี่ยว
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย องค์ประกอบ ความสำคัญและประเภทของแรงงาน
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย ประเภทของสวัสดิการแรงงาน (ทั้งเป็นตัวเองและไม่เป็นตัวเงิน) ความสำคัญ
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ประเด็นที่น่าสนใจเกี่่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงาน
    • K4: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแนวคิดและกระบวนทัศน์เกี่ยวกับการบริหารแรงงานและการจัดสวัสดิการแรงงาน
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • K6: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น (ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ)
    • E2: นักศึกษาไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
    • E3: นักศึกษามีความซื่สัตย์สุจริต
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    25
    งานกลุ่ม
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย องค์ประกอบ ความสำคัญและประเภทของแรงงาน
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย ประเภทของสวัสดิการแรงงาน (ทั้งเป็นตัวเองและไม่เป็นตัวเงิน) ความสำคัญ
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ประเด็นที่น่าสนใจเกี่่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงาน
    • K4: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแนวคิดและกระบวนทัศน์เกี่ยวกับการบริหารแรงงานและการจัดสวัสดิการแรงงาน
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • K6: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น (ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ)
    • E2: นักศึกษาไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
    • E3: นักศึกษามีความซื่สัตย์สุจริต
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    20
    Quiz
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย องค์ประกอบ ความสำคัญและประเภทของแรงงาน
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย ประเภทของสวัสดิการแรงงาน (ทั้งเป็นตัวเองและไม่เป็นตัวเงิน) ความสำคัญ
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ประเด็นที่น่าสนใจเกี่่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงาน
    • K4: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแนวคิดและกระบวนทัศน์เกี่ยวกับการบริหารแรงงานและการจัดสวัสดิการแรงงาน
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • K6: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น (ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ)
    • E2: นักศึกษาไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
    • E3: นักศึกษามีความซื่สัตย์สุจริต
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    25
    สอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย องค์ประกอบ ความสำคัญและประเภทของแรงงาน
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องความหมาย ประเภทของสวัสดิการแรงงาน (ทั้งเป็นตัวเองและไม่เป็นตัวเงิน) ความสำคัญ
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ประเด็นที่น่าสนใจเกี่่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงาน
    • K4: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแนวคิดและกระบวนทัศน์เกี่ยวกับการบริหารแรงงานและการจัดสวัสดิการแรงงาน
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแรงงานและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • K6: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานเพื่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น (ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ)
    • E2: นักศึกษาไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
    • E3: นักศึกษามีความซื่สัตย์สุจริต
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    25
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    • นําผลการวิจัยในชั้นเรียนมาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop Course instruction and assessment according to the result from classroom research.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

    1. ด้านความรู้
    1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด และทฤษฎีสำคัญสำหรับการพัฒนาสังคมในขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ของหลักสูตร
    1.2 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชาพัฒนาสังคม รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางพัฒนาสังคม
    1.3 สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้

    2. ด้านทักษะ
    2.1 สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ ติดตามความก้าวหน้าในศาสตร์ รู้วิธีแก้ปัญหา และต่อยอด
    องค์ความรู้ได้
    2.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาอย่างเหมาะสม
    2.3 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ในการแก้ปัญหาทางวิชาการและการทำงาน
    2.4 มีความฉลาดทางอารมณ์ บริหารจัดการภายใต้ความกดดันทางสังคม

    3. ด้านจริยธรรม
    3.1 ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    3.2 มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา และเคารพกติกาของสังคม
    3.3 ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    3.4 รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    3.5 มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย

    4. ด้านลักษณะบุคคล
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม และมีจิตใจในการให้บริการที่ดี

    5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีทักษะกระบวนการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสถิติในระดับพื้นฐาน ในการแสวงหาความรู้เพื่อการปฏิบัติงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
    5.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสาร และค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    5.3 ใช้ภาษาไทยได้ดีทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและให้เหมาะสมกับสถานการณ์
    5.4 มีความสามารถในการใช้เครื่องมือที่หลากหลายและเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้อย่างเหมาะสม