Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาพัฒนาสังคม
Social Development
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2568
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS434310
ภาษาไทย
Thai name
องค์กรภาคประชาสังคมกับการพัฒนาสังคม
ภาษาอังกฤษ
English name
Civil Society Organization and Social Development
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
5(2-9-10)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์อภิรดี วงศ์ศิริ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์อภิรดี วงศ์ศิริ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการพัฒนาชุมชนเมือง รูปแบบของการพัฒนาเมือง และการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่ององค์กรภาคประชาสังคม กระบวนการเกิดองค์กรภาคประชาสังคม และรูปแบบขององค์กรภาคประชาสังคม
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาเมืองและชนบท
    จริยธรรม
    Ethics
    • ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    • มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความเป็นมา ความหมาย แนวคิด และกระบวนของจิตสาธารณะและองค์กรภาคประชาสังคม องค์กรภาคประชาสังคมกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม องค์กรภาคประชาสังคมกับการพัฒนาชุมชนชนบทและเมือง
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Background, meaning, concept and process of public mind and civil society organizations, civil society organizations and social changes, civil society organizations and rural and urban community development
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Research-based learning
    • Problem-based learning
    • Flipped classroom
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 1. โครงสร้างเมืองและการกลายเป็นเมือง
    1.1 โครงสร้างเมือง
    1.2 การกลายเป็นเมือง
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการพัฒนาชุมชนเมือง รูปแบบของการพัฒนาเมือง และการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยายเรื่องโครงสร้างการเมืองและการกลายเป็นเมือง
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    Google Classroom
    2 2. แนวคิดที่ใช้ในการพัฒนาชุมชนเมือง
    2.1 แนวคิดการพัฒนาเมือง
    2.2 รูปแบบและการพัฒนาชุมชนเมือง
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการพัฒนาชุมชนเมือง รูปแบบของการพัฒนาเมือง และการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่ององค์กรภาคประชาสังคม กระบวนการเกิดองค์กรภาคประชาสังคม และรูปแบบขององค์กรภาคประชาสังคม
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาเมืองและชนบท
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยายเรื่องแนวคิดที่ใช้ในการพัฒนาชุมชนเมือง
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    Google Classroom
    3 3. การพัฒนาชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน
    3.1 ปัญหาในการพัฒนาเมือง
    3.2 การพัฒนาชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน
    3
      บรรยายเรื่องการพัฒนาชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
      หนังสือ หรือ ตำรา
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
      ในห้องเรียน
      Google Classroom
      4 4. แนวคิดเกี่ยวกับจิตสาธารณะและองค์กรภาคประชาสังคม
      4.1 แนวคิดจิตสาธารณะ
      4.2 แนวคิดองค์กรภาคประชาสังคม
      4.3 กระบวนการของจิตสาธารณะและองค์กรภาคประชาสังคม
      3
      • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่ององค์กรภาคประชาสังคม กระบวนการเกิดองค์กรภาคประชาสังคม และรูปแบบขององค์กรภาคประชาสังคม
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • E2: มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
      บรรยายเรื่องจิตสาธารณะและองค์กรภาคประชาสังคม
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
      หนังสือ หรือ ตำรา
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
      ในห้องเรียน
      Google Classroom
      5 5. องค์กรภาคประชาสังคมกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
      5.1 พัฒนาการขององค์กรภาคประชาสังคม
      5.2 รูปแบบขององค์กรภาคประชาสังคม
      5.3 ความท้าทายขององค์กรภาคประชาสังคม
      3
      • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่ององค์กรภาคประชาสังคม กระบวนการเกิดองค์กรภาคประชาสังคม และรูปแบบขององค์กรภาคประชาสังคม
      บรรยายเรื่ององค์กรภาคประชาสังคมกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
      หนังสือ หรือ ตำรา
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
      ในห้องเรียน
      Google Classroom
      6 6. องค์กรภาคประชาสังคมกับการพัฒนาชุมชนเมืองและชนบท
      6.1 องค์กรภาคประชาสังคมกับการพัฒนาชุมชนเมือง
      6.2 องค์กรภาคประชาสังคมกับการพัฒนาชุมชนชนบท
      3
      • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่ององค์กรภาคประชาสังคม กระบวนการเกิดองค์กรภาคประชาสังคม และรูปแบบขององค์กรภาคประชาสังคม
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาเมืองและชนบท
      บรรยายเรื่ององค์กรภาคประชาสังคมกับการพัฒนาชุมชนเมืองและชนบท
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
      หนังสือ หรือ ตำรา
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
      ในห้องเรียน
      Google Classroom
      7-14 การฝึกปฏิบัติงานภาคสนามในองค์กรภาคประชาสังคม เป็นระยะเวลาจำนวน 8 สัปดาห์ ในการนี้ อาจารย์จะมีหน้าที่ในการดูแลและให้คำปรึกษาในการฝึกปฏิบัติงานและทำรายงานอิสระ 240
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการพัฒนาชุมชนเมือง รูปแบบของการพัฒนาเมือง และการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
      • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่ององค์กรภาคประชาสังคม กระบวนการเกิดองค์กรภาคประชาสังคม และรูปแบบขององค์กรภาคประชาสังคม
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาเมืองและชนบท
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • E1: ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
      • E2: มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
      การฝึกปฏิบัตงานจริง
      15 การจัดทำรายงานและนำเสนอผลการปฏิบัติงาน 6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการพัฒนาชุมชนเมือง รูปแบบของการพัฒนาเมือง และการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
      • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่ององค์กรภาคประชาสังคม กระบวนการเกิดองค์กรภาคประชาสังคม และรูปแบบขององค์กรภาคประชาสังคม
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาเมืองและชนบท
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • E1: ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
      • E2: มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
      การจัดนิทรรศการนำเสนอผลงานการศึกษา
      การสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการฝึกปฏิบัติงานภาคสนามในองค์กรภาคประชาสังคม
      รวมจำนวนชั่วโมง 18 246
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      1. ใบงาน
      2. ทดสอบย่อย
      3. การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
      งานเดี่ยว
      งานกลุ่ม
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการพัฒนาชุมชนเมือง รูปแบบของการพัฒนาเมือง และการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
      • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่ององค์กรภาคประชาสังคม กระบวนการเกิดองค์กรภาคประชาสังคม และรูปแบบขององค์กรภาคประชาสังคม
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาเมืองและชนบท
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • E1: ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
      • E2: มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
      50 คะแนนในชั้นเรียน แบ่งออกเป็น
      1. สัปดาห์ที่ 1 จำนวน 8 คะแนน ผ่านการให้ใบงาน
      2. สัปดาห์ที่ 2 จำนวน 9 คะแนน ผ่านการทดสอบย่อย
      3. สัปดาห์ที่ 3 จำนวน 8 คะแนน ผ่านการให้ใบงาน
      4. สัปดาห์ที่ 4 จำนวน 8 คะแนน ผ่านทำกิจกรรมในชั้นเรียนและใบงาน
      5. สัปดาห์ที่ 5 จำนวน 8 คะแนน ผ่านทำกิจกรรมในชั้นเรียนและใบงาน
      6. สัปดาห์ที่ 5 จำนวน 8 คะแนน ผ่านทำกิจกรรมในชั้นเรียนและใบงาน
      งานกลุ่ม
      โครงงาน
      การนำเสนอผลงาน
      การฝึกปฏิบัตงานภาคสนาม
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการพัฒนาชุมชนเมือง รูปแบบของการพัฒนาเมือง และการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
      • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่ององค์กรภาคประชาสังคม กระบวนการเกิดองค์กรภาคประชาสังคม และรูปแบบขององค์กรภาคประชาสังคม
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาเมืองและชนบท
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • E1: ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
      • E2: มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
      50 คะแนนแบ่งออกเป็น
      1. การประเมินผลการฝึกปฏิบัตงานโดยหน่วยงาน จำนวน 20 คะแนน
      2. คะแนนรูปเล่มรายงาน จำนวน 20 คะแนน
      3. การจัดนิทรรศการนำเสนอผลงาน 10 คะแนน
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา อภิรดี วงศ์ศิริ.
      จิตสาธารณะและองค์กรภาคประชาสังคม / อภิรดี วงศ์ศิริ. -- พิมพ์ครั้งที่ 1. --
      ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2566.
      200 หน้า : ภาพประกอบ
      1. ไทย -- ภาวะสังคม -- แง่ศีลธรรมจรรยา. 2. จิตสาธารณะ. 3. จิตสานึก.
      4. ประชาสังคม
      -- แง่ศีลธรรมจรรยา. 4. การพัฒนาสังคม. (1) มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คณะ
      มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (2) ชื่อเรื่อง.
      HN700.55.Z9M6 อ259 2566
      ISBN 978-616-438-817-8 (e-book)
      อาจารย์ภายในคณะ
      ไฟล์ตำราจิตสาธารณะและองค์กรภาคประชาสังคมฉบับสมบูรณ์.pdf
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      • นําผลการวิจัยในชั้นเรียนมาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop Course instruction and assessment according to the result from classroom research.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

      รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

      1. ด้านความรู้
      1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด และทฤษฎีสำคัญสำหรับการพัฒนาสังคมในขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ของหลักสูตร
      1.2 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชาพัฒนาสังคม รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางพัฒนาสังคม
      1.3 สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้

      2. ด้านทักษะ
      2.1 สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ ติดตามความก้าวหน้าในศาสตร์ รู้วิธีแก้ปัญหา และต่อยอด
      องค์ความรู้ได้
      2.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาอย่างเหมาะสม
      2.3 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ในการแก้ปัญหาทางวิชาการและการทำงาน
      2.4 มีความฉลาดทางอารมณ์ บริหารจัดการภายใต้ความกดดันทางสังคม

      3. ด้านจริยธรรม
      3.1 ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
      3.2 มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา และเคารพกติกาของสังคม
      3.3 ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      3.4 รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
      3.5 มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย

      4. ด้านลักษณะบุคคล
      4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
      4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม และมีจิตใจในการให้บริการที่ดี

      5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีทักษะกระบวนการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสถิติในระดับพื้นฐาน ในการแสวงหาความรู้เพื่อการปฏิบัติงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
      5.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสาร และค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
      5.3 ใช้ภาษาไทยได้ดีทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและให้เหมาะสมกับสถานการณ์
      5.4 มีความสามารถในการใช้เครื่องมือที่หลากหลายและเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้อย่างเหมาะสม