Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาพัฒนาสังคม
Social Development
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS433203
ภาษาไทย
Thai name
เทคนิควิทยาสำหรับการพัฒนาสังคม
ภาษาอังกฤษ
English name
Methods for Social Development
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เข้าใจวิธีการทางวิจัยสำหรับการพัฒนาสังคม
    • เข้าใจและสามารถใช้เครื่องมือวิธีการทางวิจัยที่หลากหลาย เพื่อเข้าใจปัญหาการพัฒนาและหาทางออก
    • เข้าใจปรัชญาการวิจัยและความเชื่อมโยงกับทฤษฎีสังคมศาสตร์สมัยใหม่
    จริยธรรม
    Ethics
    • เป็นผู้ยึดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเป็นธรรม และความเท่าเทียมกัน ควบคู่ไปกับการวินิจฉัยหรือตัดสินผลการพัฒนาโดยยึดหลักทางเทคนิควิชาการ
    • เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ยึดมั่นเป้าหมาย ค่านิยมขององค์กรเป็นหลักในการทำงาน และทำหน้าที่อย่างเต็มความสามารถให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
    ทักษะ
    Skills
    • สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือการวิจัยและเครื่องมือการพัฒนาใหม่ ๆ กับสถานการณ์จริงได้ สามารถสร้างข้อเสนอ กรอบคิด หรือวิธีการแก้ปัญหาทางพัฒนาสังคม
    • สามารถบูรณาการเครื่องมือการวิจัยที่หลากหลายและสามารถใช้ digital tool platform ในการวิจัย
    • สามารถนำเสนอผลการวิจัยในวารสารทั้งในและต่างประเทศ
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • มีความรู้ความสามารถในการศึกษาวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนา (Knowledge)
    • มีความสามารถในการสื่อสารเพื่อวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนาทั้งในและต่างประเทศ (International)
    • เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยึดประโยชน์ของส่วนรวมเหนือประโยชน์ส่วนตน (Noble)
    • มีทักษะในการใช้ Digital tool platform (Digital)
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    การประยุกต์ทฤษฎีและวิธีวิจัยทางสังคมสำหรับงานพัฒนาสังคม วิธีการทำงานแบบมีส่วนร่วม การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การวิเคราะห์สินทรัพย์ทุนของชุมชน การประเมินคุณประโยชน์ของระบบนิเวศ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพการประเมินผลกระทบทางสังคมของการพัฒนา และการวิเคราะห์ฉากทัศน์อนาคตสำหรับการพัฒนาสังคม
    ภาษาอังกฤษ
    English
    The application and integration of social theory and social research for social development works, participatory approach, stakeholder analysis,
    asset-based community development approach, the assessment of ecosystem services, impact assessment of development on health,
    assessment of social impacts of development, scenarios analysis
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Research-based learning
    • Task-based learning
    • Experiential learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 - แนะนำขอบข่ายรายวิชาและการเรียนการสอน

    หน่วยที่ 1 การประยุกต์ทฤษฎีและวิธีวิจัยทางสังคมสำหรับงานพัฒนาสังคม
    1.1 การวิจัยกับการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
    1.2 ประเภทของการวิจัยทางสังคมศาสตร์
    1.3 การใช้ประโยชน์จากการวิจัยสำหรับงานพัฒนาสังคม
    3
    • K1: เข้าใจวิธีการทางวิจัยสำหรับการพัฒนาสังคม
    • K3: เข้าใจปรัชญาการวิจัยและความเชื่อมโยงกับทฤษฎีสังคมศาสตร์สมัยใหม่
    • S1: สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือการวิจัยและเครื่องมือการพัฒนาใหม่ ๆ กับสถานการณ์จริงได้ สามารถสร้างข้อเสนอ กรอบคิด หรือวิธีการแก้ปัญหาทางพัฒนาสังคม
    • S2: สามารถบูรณาการเครื่องมือการวิจัยที่หลากหลายและสามารถใช้ digital tool platform ในการวิจัย
    • E1: เป็นผู้ยึดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเป็นธรรม และความเท่าเทียมกัน ควบคู่ไปกับการวินิจฉัยหรือตัดสินผลการพัฒนาโดยยึดหลักทางเทคนิควิชาการ
    • E2: เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ยึดมั่นเป้าหมาย ค่านิยมขององค์กรเป็นหลักในการทำงาน และทำหน้าที่อย่างเต็มความสามารถให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
    • C1: มีความรู้ความสามารถในการศึกษาวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนา (Knowledge)
    • C3: เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยึดประโยชน์ของส่วนรวมเหนือประโยชน์ส่วนตน (Noble)
    • C4: มีทักษะในการใช้ Digital tool platform (Digital)
    - จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน (Classroom-based learning) โดยเน้นกระบวนการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผ่านการจัดเนื้อหาแบบเรียนรู้จากประสบการณ์วิจัย (Experiential learning) การจัดกิจกรรมเรียนรู้ตามเนื้อหา (Task-based learning) และการอภิปรายตามกรณีศึกษา (Case discussion)
    - สื่อการสอน ประกอบด้วย สื่อ Online Digital และกรณีศึกษาผ่าน Online Database
    2-3 หน่วยที่ 2 วิธีการแบบมีส่วนร่วม
    2.1 การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในงานพัฒนา
    2.2 หลักการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
    2.3 การออกแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
    2.4 การใช้ประโยชน์จากการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
    2.5 กรณีศึกษางานวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
    6
    • K1: เข้าใจวิธีการทางวิจัยสำหรับการพัฒนาสังคม
    • K2: เข้าใจและสามารถใช้เครื่องมือวิธีการทางวิจัยที่หลากหลาย เพื่อเข้าใจปัญหาการพัฒนาและหาทางออก
    • K3: เข้าใจปรัชญาการวิจัยและความเชื่อมโยงกับทฤษฎีสังคมศาสตร์สมัยใหม่
    • S1: สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือการวิจัยและเครื่องมือการพัฒนาใหม่ ๆ กับสถานการณ์จริงได้ สามารถสร้างข้อเสนอ กรอบคิด หรือวิธีการแก้ปัญหาทางพัฒนาสังคม
    • S2: สามารถบูรณาการเครื่องมือการวิจัยที่หลากหลายและสามารถใช้ digital tool platform ในการวิจัย
    • S3: สามารถนำเสนอผลการวิจัยในวารสารทั้งในและต่างประเทศ
    • E1: เป็นผู้ยึดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเป็นธรรม และความเท่าเทียมกัน ควบคู่ไปกับการวินิจฉัยหรือตัดสินผลการพัฒนาโดยยึดหลักทางเทคนิควิชาการ
    • E2: เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ยึดมั่นเป้าหมาย ค่านิยมขององค์กรเป็นหลักในการทำงาน และทำหน้าที่อย่างเต็มความสามารถให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
    • C1: มีความรู้ความสามารถในการศึกษาวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนา (Knowledge)
    • C2: มีความสามารถในการสื่อสารเพื่อวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนาทั้งในและต่างประเทศ (International)
    • C3: เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยึดประโยชน์ของส่วนรวมเหนือประโยชน์ส่วนตน (Noble)
    • C4: มีทักษะในการใช้ Digital tool platform (Digital)
    - จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน (Classroom-based learning) โดยเน้นกระบวนการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผ่านการจัดเนื้อหาแบบเรียนรู้จากประสบการณ์วิจัย (Experiential learning) การจัดกิจกรรมเรียนรู้ตามเนื้อหา (Task-based learning) และการอภิปรายตามกรณีศึกษา (Case discussion)
    - สื่อการสอน ประกอบด้วย สื่อ Online Digital และกรณีศึกษาผ่าน Online Database
    4-5 หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
    3.1 ความหมายและประเภทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในงานพัฒนา
    3.2 หลักการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
    3.3 เทคนิคการวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
    3.4 การนำผลการวิเคราะห์ไปใช้และข้อควรระมัดระวัง
    6
    • K1: เข้าใจวิธีการทางวิจัยสำหรับการพัฒนาสังคม
    • K2: เข้าใจและสามารถใช้เครื่องมือวิธีการทางวิจัยที่หลากหลาย เพื่อเข้าใจปัญหาการพัฒนาและหาทางออก
    • K3: เข้าใจปรัชญาการวิจัยและความเชื่อมโยงกับทฤษฎีสังคมศาสตร์สมัยใหม่
    • S1: สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือการวิจัยและเครื่องมือการพัฒนาใหม่ ๆ กับสถานการณ์จริงได้ สามารถสร้างข้อเสนอ กรอบคิด หรือวิธีการแก้ปัญหาทางพัฒนาสังคม
    • S2: สามารถบูรณาการเครื่องมือการวิจัยที่หลากหลายและสามารถใช้ digital tool platform ในการวิจัย
    • S3: สามารถนำเสนอผลการวิจัยในวารสารทั้งในและต่างประเทศ
    • E1: เป็นผู้ยึดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเป็นธรรม และความเท่าเทียมกัน ควบคู่ไปกับการวินิจฉัยหรือตัดสินผลการพัฒนาโดยยึดหลักทางเทคนิควิชาการ
    • E2: เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ยึดมั่นเป้าหมาย ค่านิยมขององค์กรเป็นหลักในการทำงาน และทำหน้าที่อย่างเต็มความสามารถให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
    • C1: มีความรู้ความสามารถในการศึกษาวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนา (Knowledge)
    • C2: มีความสามารถในการสื่อสารเพื่อวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนาทั้งในและต่างประเทศ (International)
    • C3: เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยึดประโยชน์ของส่วนรวมเหนือประโยชน์ส่วนตน (Noble)
    • C4: มีทักษะในการใช้ Digital tool platform (Digital)
    - จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน (Classroom-based learning) โดยเน้นกระบวนการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผ่านการจัดเนื้อหาแบบเรียนรู้จากประสบการณ์วิจัย (Experiential learning) การจัดกิจกรรมเรียนรู้ตามเนื้อหา (Task-based learning) และการอภิปรายตามกรณีศึกษา (Case discussion)
    - สื่อการสอน ประกอบด้วย สื่อ Online Digital โปรแกรม UCI-Net และกรณีศึกษาผ่าน Online Database
    6-7 หน่วยที่ 4 การวิเคราะห์สินทรัพย์ทุนของชุมชน
    4.1 ความจำเป็นในการวิเคราะห์สินทรัพย์ทุนของชุมชน
    4.2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์สินทรัพย์ทุนของชุมชน
    4.3 หลักการวิเคราะห์สินทรัพย์ทุนของชุมชน
    4.4 เทคนิคการวิเคราะห์สินทรัพย์ทุนโดยโปรแกรม Atlas.ti
    6
    • K1: เข้าใจวิธีการทางวิจัยสำหรับการพัฒนาสังคม
    • K2: เข้าใจและสามารถใช้เครื่องมือวิธีการทางวิจัยที่หลากหลาย เพื่อเข้าใจปัญหาการพัฒนาและหาทางออก
    • K3: เข้าใจปรัชญาการวิจัยและความเชื่อมโยงกับทฤษฎีสังคมศาสตร์สมัยใหม่
    • S1: สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือการวิจัยและเครื่องมือการพัฒนาใหม่ ๆ กับสถานการณ์จริงได้ สามารถสร้างข้อเสนอ กรอบคิด หรือวิธีการแก้ปัญหาทางพัฒนาสังคม
    • S2: สามารถบูรณาการเครื่องมือการวิจัยที่หลากหลายและสามารถใช้ digital tool platform ในการวิจัย
    • S3: สามารถนำเสนอผลการวิจัยในวารสารทั้งในและต่างประเทศ
    • E1: เป็นผู้ยึดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเป็นธรรม และความเท่าเทียมกัน ควบคู่ไปกับการวินิจฉัยหรือตัดสินผลการพัฒนาโดยยึดหลักทางเทคนิควิชาการ
    • E2: เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ยึดมั่นเป้าหมาย ค่านิยมขององค์กรเป็นหลักในการทำงาน และทำหน้าที่อย่างเต็มความสามารถให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
    • C1: มีความรู้ความสามารถในการศึกษาวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนา (Knowledge)
    • C2: มีความสามารถในการสื่อสารเพื่อวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนาทั้งในและต่างประเทศ (International)
    • C3: เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยึดประโยชน์ของส่วนรวมเหนือประโยชน์ส่วนตน (Noble)
    • C4: มีทักษะในการใช้ Digital tool platform (Digital)
    - จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน (Classroom-based learning) โดยเน้นกระบวนการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผ่านการจัดเนื้อหาแบบเรียนรู้จากประสบการณ์วิจัย (Experiential learning) การจัดกิจกรรมเรียนรู้ตามเนื้อหา (Task-based learning) และการอภิปรายตามกรณีศึกษา (Case discussion)
    - สื่อการสอน ประกอบด้วย สื่อ Online Digital โปรแกรม Atlas.ti และกรณีศึกษาผ่าน Online Database
    8-9 หน่วยที่ 5 การประเมินคุณประโยชน์ของระบบนิเวศ
    5.1 หลักการเศรษฐศาสตร์ของระบบนิเวศวิทยา
    5.2 ความจำเป็นในการประเมินคุณประโยชน์ของระบบนิเวศ
    5.3 หลักการประเมินคุณประโยชน์ของระบบนิเวศ
    5.4 การนำผลการประเมินคุณค่าไปใช้ในงานพัฒนา
    6
    • K1: เข้าใจวิธีการทางวิจัยสำหรับการพัฒนาสังคม
    • K3: เข้าใจปรัชญาการวิจัยและความเชื่อมโยงกับทฤษฎีสังคมศาสตร์สมัยใหม่
    • S1: สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือการวิจัยและเครื่องมือการพัฒนาใหม่ ๆ กับสถานการณ์จริงได้ สามารถสร้างข้อเสนอ กรอบคิด หรือวิธีการแก้ปัญหาทางพัฒนาสังคม
    • S2: สามารถบูรณาการเครื่องมือการวิจัยที่หลากหลายและสามารถใช้ digital tool platform ในการวิจัย
    • E1: เป็นผู้ยึดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเป็นธรรม และความเท่าเทียมกัน ควบคู่ไปกับการวินิจฉัยหรือตัดสินผลการพัฒนาโดยยึดหลักทางเทคนิควิชาการ
    • E2: เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ยึดมั่นเป้าหมาย ค่านิยมขององค์กรเป็นหลักในการทำงาน และทำหน้าที่อย่างเต็มความสามารถให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
    • C1: มีความรู้ความสามารถในการศึกษาวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนา (Knowledge)
    • C3: เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยึดประโยชน์ของส่วนรวมเหนือประโยชน์ส่วนตน (Noble)
    • C4: มีทักษะในการใช้ Digital tool platform (Digital)
    - จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน (Classroom-based learning) โดยเน้นกระบวนการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผ่านการจัดเนื้อหาแบบเรียนรู้จากประสบการณ์วิจัย (Experiential learning) การจัดกิจกรรมเรียนรู้ตามเนื้อหา (Task-based learning) และการอภิปรายตามกรณีศึกษา (Case discussion)
    - สื่อการสอน ประกอบด้วย สื่อ Online Digital
    10-11 หน่วยที่ 6 การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
    6.1 สุขภาพและปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ
    6.2 หลักการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
    6.3 ข้อกำหนดในการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพของไทย
    6.4 การนำผลการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพไปใช้ในงานพัฒนา
    6
    • K1: เข้าใจวิธีการทางวิจัยสำหรับการพัฒนาสังคม
    • K3: เข้าใจปรัชญาการวิจัยและความเชื่อมโยงกับทฤษฎีสังคมศาสตร์สมัยใหม่
    • S1: สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือการวิจัยและเครื่องมือการพัฒนาใหม่ ๆ กับสถานการณ์จริงได้ สามารถสร้างข้อเสนอ กรอบคิด หรือวิธีการแก้ปัญหาทางพัฒนาสังคม
    • S2: สามารถบูรณาการเครื่องมือการวิจัยที่หลากหลายและสามารถใช้ digital tool platform ในการวิจัย
    • E1: เป็นผู้ยึดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเป็นธรรม และความเท่าเทียมกัน ควบคู่ไปกับการวินิจฉัยหรือตัดสินผลการพัฒนาโดยยึดหลักทางเทคนิควิชาการ
    • E2: เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ยึดมั่นเป้าหมาย ค่านิยมขององค์กรเป็นหลักในการทำงาน และทำหน้าที่อย่างเต็มความสามารถให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
    • C1: มีความรู้ความสามารถในการศึกษาวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนา (Knowledge)
    • C3: เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยึดประโยชน์ของส่วนรวมเหนือประโยชน์ส่วนตน (Noble)
    • C4: มีทักษะในการใช้ Digital tool platform (Digital)
    - จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน (Classroom-based learning) โดยเน้นกระบวนการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผ่านการจัดเนื้อหาแบบเรียนรู้จากประสบการณ์วิจัย (Experiential learning) การจัดกิจกรรมเรียนรู้ตามเนื้อหา (Task-based learning) และการอภิปรายตามกรณีศึกษา (Case discussion)
    - สื่อการสอน ประกอบด้วย สื่อ Online Digital
    12-13 หน่วยที่ 7 การประเมินผลกระทบทางสังคมของการพัฒนา
    7.1 ผลกระทบของการพัฒนา
    7.2 การวิเคราะห์โครงการด้านสังคม
    7.3 หลักการประเมินผลกระทบทางสังคมของการพัฒนา
    7.4 ผลกระทบทางสังคมของ
    6
    • K1: เข้าใจวิธีการทางวิจัยสำหรับการพัฒนาสังคม
    • K3: เข้าใจปรัชญาการวิจัยและความเชื่อมโยงกับทฤษฎีสังคมศาสตร์สมัยใหม่
    • S1: สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือการวิจัยและเครื่องมือการพัฒนาใหม่ ๆ กับสถานการณ์จริงได้ สามารถสร้างข้อเสนอ กรอบคิด หรือวิธีการแก้ปัญหาทางพัฒนาสังคม
    • S2: สามารถบูรณาการเครื่องมือการวิจัยที่หลากหลายและสามารถใช้ digital tool platform ในการวิจัย
    • E1: เป็นผู้ยึดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเป็นธรรม และความเท่าเทียมกัน ควบคู่ไปกับการวินิจฉัยหรือตัดสินผลการพัฒนาโดยยึดหลักทางเทคนิควิชาการ
    • E2: เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ยึดมั่นเป้าหมาย ค่านิยมขององค์กรเป็นหลักในการทำงาน และทำหน้าที่อย่างเต็มความสามารถให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
    • C1: มีความรู้ความสามารถในการศึกษาวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนา (Knowledge)
    • C3: เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยึดประโยชน์ของส่วนรวมเหนือประโยชน์ส่วนตน (Noble)
    • C4: มีทักษะในการใช้ Digital tool platform (Digital)
    - จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน (Classroom-based learning) โดยเน้นกระบวนการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผ่านการจัดเนื้อหาแบบเรียนรู้จากประสบการณ์วิจัย (Experiential learning) การจัดกิจกรรมเรียนรู้ตามเนื้อหา (Task-based learning) และการอภิปรายตามกรณีศึกษา (Case discussion)
    - สื่อการสอน ประกอบด้วย สื่อ Online Digital
    14 หน่วยที่ 8 การวิเคราะห์ฉากทัศน์อนาคตสำหรับการพัฒนาสังคม
    8.1 ความหมายและที่มาของการวิเคราะห์ฉากทัศน์อนาคต
    8.2 หลักการวิเคราะห์ฉากทัศน์อนาคต
    3
    • K1: เข้าใจวิธีการทางวิจัยสำหรับการพัฒนาสังคม
    • K3: เข้าใจปรัชญาการวิจัยและความเชื่อมโยงกับทฤษฎีสังคมศาสตร์สมัยใหม่
    • S1: สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือการวิจัยและเครื่องมือการพัฒนาใหม่ ๆ กับสถานการณ์จริงได้ สามารถสร้างข้อเสนอ กรอบคิด หรือวิธีการแก้ปัญหาทางพัฒนาสังคม
    • S2: สามารถบูรณาการเครื่องมือการวิจัยที่หลากหลายและสามารถใช้ digital tool platform ในการวิจัย
    • E1: เป็นผู้ยึดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเป็นธรรม และความเท่าเทียมกัน ควบคู่ไปกับการวินิจฉัยหรือตัดสินผลการพัฒนาโดยยึดหลักทางเทคนิควิชาการ
    • E2: เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ยึดมั่นเป้าหมาย ค่านิยมขององค์กรเป็นหลักในการทำงาน และทำหน้าที่อย่างเต็มความสามารถให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
    • C1: มีความรู้ความสามารถในการศึกษาวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนา (Knowledge)
    • C3: เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยึดประโยชน์ของส่วนรวมเหนือประโยชน์ส่วนตน (Noble)
    • C4: มีทักษะในการใช้ Digital tool platform (Digital)
    - จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน (Classroom-based learning) โดยเน้นกระบวนการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผ่านการจัดเนื้อหาแบบเรียนรู้จากประสบการณ์วิจัย (Experiential learning) การจัดกิจกรรมเรียนรู้ตามเนื้อหา (Task-based learning) และการอภิปรายตามกรณีศึกษา (Case discussion)
    - สื่อการสอน ประกอบด้วย สื่อ Online Digital
    15 การนำเสนอเค้าโครงการวิจัยของนักศึกษา 3
    • K1: เข้าใจวิธีการทางวิจัยสำหรับการพัฒนาสังคม
    • K3: เข้าใจปรัชญาการวิจัยและความเชื่อมโยงกับทฤษฎีสังคมศาสตร์สมัยใหม่
    • S1: สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือการวิจัยและเครื่องมือการพัฒนาใหม่ ๆ กับสถานการณ์จริงได้ สามารถสร้างข้อเสนอ กรอบคิด หรือวิธีการแก้ปัญหาทางพัฒนาสังคม
    • S2: สามารถบูรณาการเครื่องมือการวิจัยที่หลากหลายและสามารถใช้ digital tool platform ในการวิจัย
    • E1: เป็นผู้ยึดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเป็นธรรม และความเท่าเทียมกัน ควบคู่ไปกับการวินิจฉัยหรือตัดสินผลการพัฒนาโดยยึดหลักทางเทคนิควิชาการ
    • E2: เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ยึดมั่นเป้าหมาย ค่านิยมขององค์กรเป็นหลักในการทำงาน และทำหน้าที่อย่างเต็มความสามารถให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
    • C1: มีความรู้ความสามารถในการศึกษาวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนา (Knowledge)
    • C3: เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยึดประโยชน์ของส่วนรวมเหนือประโยชน์ส่วนตน (Noble)
    • C4: มีทักษะในการใช้ Digital tool platform (Digital)
    นำเสนอเค้าโครงการวิจัยของนักศึกษา
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    ใบงานที่ 1-7
    • K1: เข้าใจวิธีการทางวิจัยสำหรับการพัฒนาสังคม
    • K2: เข้าใจและสามารถใช้เครื่องมือวิธีการทางวิจัยที่หลากหลาย เพื่อเข้าใจปัญหาการพัฒนาและหาทางออก
    • K3: เข้าใจปรัชญาการวิจัยและความเชื่อมโยงกับทฤษฎีสังคมศาสตร์สมัยใหม่
    • S1: สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือการวิจัยและเครื่องมือการพัฒนาใหม่ ๆ กับสถานการณ์จริงได้ สามารถสร้างข้อเสนอ กรอบคิด หรือวิธีการแก้ปัญหาทางพัฒนาสังคม
    • S2: สามารถบูรณาการเครื่องมือการวิจัยที่หลากหลายและสามารถใช้ digital tool platform ในการวิจัย
    • S3: สามารถนำเสนอผลการวิจัยในวารสารทั้งในและต่างประเทศ
    • E1: เป็นผู้ยึดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเป็นธรรม และความเท่าเทียมกัน ควบคู่ไปกับการวินิจฉัยหรือตัดสินผลการพัฒนาโดยยึดหลักทางเทคนิควิชาการ
    • E2: เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ยึดมั่นเป้าหมาย ค่านิยมขององค์กรเป็นหลักในการทำงาน และทำหน้าที่อย่างเต็มความสามารถให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
    • C1: มีความรู้ความสามารถในการศึกษาวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนา (Knowledge)
    • C2: มีความสามารถในการสื่อสารเพื่อวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนาทั้งในและต่างประเทศ (International)
    • C3: เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยึดประโยชน์ของส่วนรวมเหนือประโยชน์ส่วนตน (Noble)
    • C4: มีทักษะในการใช้ Digital tool platform (Digital)
    35
    เค้าโครงการวิจัย
    • K1: เข้าใจวิธีการทางวิจัยสำหรับการพัฒนาสังคม
    • K2: เข้าใจและสามารถใช้เครื่องมือวิธีการทางวิจัยที่หลากหลาย เพื่อเข้าใจปัญหาการพัฒนาและหาทางออก
    • K3: เข้าใจปรัชญาการวิจัยและความเชื่อมโยงกับทฤษฎีสังคมศาสตร์สมัยใหม่
    • S1: สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือการวิจัยและเครื่องมือการพัฒนาใหม่ ๆ กับสถานการณ์จริงได้ สามารถสร้างข้อเสนอ กรอบคิด หรือวิธีการแก้ปัญหาทางพัฒนาสังคม
    • S2: สามารถบูรณาการเครื่องมือการวิจัยที่หลากหลายและสามารถใช้ digital tool platform ในการวิจัย
    • S3: สามารถนำเสนอผลการวิจัยในวารสารทั้งในและต่างประเทศ
    • E1: เป็นผู้ยึดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเป็นธรรม และความเท่าเทียมกัน ควบคู่ไปกับการวินิจฉัยหรือตัดสินผลการพัฒนาโดยยึดหลักทางเทคนิควิชาการ
    • E2: เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ยึดมั่นเป้าหมาย ค่านิยมขององค์กรเป็นหลักในการทำงาน และทำหน้าที่อย่างเต็มความสามารถให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
    • C1: มีความรู้ความสามารถในการศึกษาวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนา (Knowledge)
    • C2: มีความสามารถในการสื่อสารเพื่อวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนาทั้งในและต่างประเทศ (International)
    • C3: เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยึดประโยชน์ของส่วนรวมเหนือประโยชน์ส่วนตน (Noble)
    • C4: มีทักษะในการใช้ Digital tool platform (Digital)
    35
    สอบปลายภาค
    • K1: เข้าใจวิธีการทางวิจัยสำหรับการพัฒนาสังคม
    • K2: เข้าใจและสามารถใช้เครื่องมือวิธีการทางวิจัยที่หลากหลาย เพื่อเข้าใจปัญหาการพัฒนาและหาทางออก
    • K3: เข้าใจปรัชญาการวิจัยและความเชื่อมโยงกับทฤษฎีสังคมศาสตร์สมัยใหม่
    • S1: สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือการวิจัยและเครื่องมือการพัฒนาใหม่ ๆ กับสถานการณ์จริงได้ สามารถสร้างข้อเสนอ กรอบคิด หรือวิธีการแก้ปัญหาทางพัฒนาสังคม
    • S2: สามารถบูรณาการเครื่องมือการวิจัยที่หลากหลายและสามารถใช้ digital tool platform ในการวิจัย
    • S3: สามารถนำเสนอผลการวิจัยในวารสารทั้งในและต่างประเทศ
    • E1: เป็นผู้ยึดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเป็นธรรม และความเท่าเทียมกัน ควบคู่ไปกับการวินิจฉัยหรือตัดสินผลการพัฒนาโดยยึดหลักทางเทคนิควิชาการ
    • E2: เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ยึดมั่นเป้าหมาย ค่านิยมขององค์กรเป็นหลักในการทำงาน และทำหน้าที่อย่างเต็มความสามารถให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
    • C1: มีความรู้ความสามารถในการศึกษาวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนา (Knowledge)
    • C2: มีความสามารถในการสื่อสารเพื่อวิจัยและสร้างองค์ความรู้ทางการพัฒนาทั้งในและต่างประเทศ (International)
    • C3: เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยึดประโยชน์ของส่วนรวมเหนือประโยชน์ส่วนตน (Noble)
    • C4: มีทักษะในการใช้ Digital tool platform (Digital)
    30
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์. 2560. การวิจัยเชิงปริมาณสำหรับงานพัฒนาสังคม. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายในคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา Babbie, E. (2007). The Practice of Social Research. 10Th ed. California: Wadsworth Publishing Company. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ. (2553). หลักการวิจัยทางสังคม. กรุงเทพมหานคร: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล และสุภาพ ฉัตราภรณ์. (2555). การออกแบบการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 5.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2550). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางการศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ. ขอนแก่น : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายในคณะ
    เอกสารประกอบการสอน สินธะวา คามดิษฐ์ และคณะ. (2556). ระเบียบวิธีการวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา สุวิมล ติรกานันท์. (2549). การใช้สถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา - หนังสือวิจัยทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อื่นๆ สามารถค้นหาเพิ่มเติมจากห้องสมุด สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
    หนังสือ หรือ ตำรา - รายงานการวิจัยที่นำมาให้ศึกษาเป็นตัวอย่างของสถาบัน/ศูนย์วิจัยต่างๆ ที่มีฐานข้อมูลเกี่ยวกับงานวิจัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ - บทความวิจัยเชิงปริมาณในวารสารที่อยู่ในฐาน TCI และ Scopus เช่น
    - วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น
    - วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ของมหาวิทยาลัยนเรศวร
    - วารสารจิตพฤติกรรมศาสตร์: ระบบพฤติกรรมไทย ของศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย
    - วารสารประชากรศาสตร์ ของวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    - วารสารวิจัยสังคม ของสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    - วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา ของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ
    - วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

    1. ด้านความรู้
    1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด และทฤษฎีสำคัญสำหรับการพัฒนาสังคมในขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ของหลักสูตร
    1.2 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชาพัฒนาสังคม รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางพัฒนาสังคม
    1.3 สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้

    2. ด้านทักษะ
    2.1 สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ ติดตามความก้าวหน้าในศาสตร์ รู้วิธีแก้ปัญหา และต่อยอด
    องค์ความรู้ได้
    2.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาอย่างเหมาะสม
    2.3 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ในการแก้ปัญหาทางวิชาการและการทำงาน
    2.4 มีความฉลาดทางอารมณ์ บริหารจัดการภายใต้ความกดดันทางสังคม

    3. ด้านจริยธรรม
    3.1 ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    3.2 มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา และเคารพกติกาของสังคม
    3.3 ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    3.4 รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    3.5 มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย

    4. ด้านลักษณะบุคคล
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม และมีจิตใจในการให้บริการที่ดี

    5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีทักษะกระบวนการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสถิติในระดับพื้นฐาน ในการแสวงหาความรู้เพื่อการปฏิบัติงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
    5.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสาร และค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    5.3 ใช้ภาษาไทยได้ดีทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและให้เหมาะสมกับสถานการณ์
    5.4 มีความสามารถในการใช้เครื่องมือที่หลากหลายและเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้อย่างเหมาะสม