Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาพัฒนาสังคม
Social Development
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS433404
ภาษาไทย
Thai name
การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนา
ภาษาอังกฤษ
English name
Comparative Politics and Development
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
  • เลือกเสรี (Free elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์ธรรม์ธเนศ ปุณณ์ธนามหาการุณ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์ธรรม์ธเนศ ปุณณ์ธนามหาการุณ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์หรือประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผ่านการศึกษาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและช่วยเหลือสังคม
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาการเรียนและการนำเสนอผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • นักศึกษามีทักษะในการศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ รวมถึงการเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    • นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎี บทบาทของรัฐ
    ระบอบการเมืองและตัวแสดงอื่น ๆ ในการนำและพัฒนาเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและ
    วัฒนธรรมผ่านการศึกษาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ
    ภาษาอังกฤษ
    English
    A fundamental introduction to the comparative politics, concepts
    and theories, the role of the state, political regimes, and other actors in
    shaping and developing economy, politics, society and culture through
    studying and analyzing cross-national comparison
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Seminar
    • Discussion-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 1. Class Orientation
    1.1 Introduction to Comparative Politics
    1.2 Comparative Approach
    1.3 Theories, Hypotheses, and Evidence
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • E2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและช่วยเหลือสังคม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 อธิบายประมวลรายวิชา แนะนำการเรียนการสอน จุดประสงค์การเรียนรู้และรูปแบบการประเมินผล
    1.2 บรรยายรายวิชาเบื้องต้น
    1.3 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.4 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    2 2. States and State Formation
    2.1 War Making and State Making
    2.2 The Development of Modern State
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    3 3. Democracy and Democratization
    3.1 Capitalism, Socialism, and Democracy
    3.2 Economic Development and Democracy
    3.3 Modernization
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • E2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและช่วยเหลือสังคม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C3: นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    4 4. Authoritarian Regimes and Democratic Breakdown
    4.1 Totalitarian and Authoritarian Regimes
    4.2 Autocracy and the Military
    4.3 Information and Propaganda
    4.4 Competitive Authoritarianism and Hybrid Regimes

    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C3: นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    5 5. Structures and Institutions
    5.1 Constitutions and Constitutional Design
    5.2 Legislatures and Legislative Elections
    5.3 Executives
    5.4 Political Parties, Party Systems, and Interest Groups
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • E2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและช่วยเหลือสังคม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C3: นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    6 6. Revolutions and Contention
    6.1 States & Social Revolutions
    6.2 Dynamics of Contention
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C3: นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    7 7. Nationalism and National Identity
    7.1 Imagined Communities
    7.2 National Identity
    7.3 Nations, States, and Violence
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์หรือประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผ่านการศึกษาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาการเรียนและการนำเสนอผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ รวมถึงการเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    • C3: นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    8 8. Ideology and Religion
    8.1 The End of History
    8.2 The Clash of Civilization
    8.3 Politics of Church and State
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์หรือประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผ่านการศึกษาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาการเรียนและการนำเสนอผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • E2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและช่วยเหลือสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ รวมถึงการเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    • C3: นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    9 9.1 Mid-Term Exam Week
    9.2 No Class
    0
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • C3: นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    10 10. Political Culture
    10.1 Cultural Differences
    10.2 The Protestant Ethic and the Spirit of Capitalism
    10.3 The Invention of Tradition
    10.4 Culture and Political Engagement
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์หรือประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผ่านการศึกษาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาการเรียนและการนำเสนอผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • E2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและช่วยเหลือสังคม
    • C3: นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    11 11. Civil Society and Social Capital
    11.1 The Idea of Civil Society and Social Capital
    11.2 Social Capital, Networks, and Norms
    11.3 Civil Society and Social Capital in Comparative Perspective
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ รวมถึงการเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    • C3: นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    12 12. Policy-making and Public Policies
    12.1 Policy and Politics Framework
    12.2 Setting the Agenda and Shaping Policy Options
    12.3 Making Policy Decisions
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาการเรียนและการนำเสนอผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • E2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและช่วยเหลือสังคม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C3: นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    13 13. Political Economy and Development
    13.1 Concepts and Paradigms of Development
    13.2 State and Development
    13.3 Political Economy of Oil and Resource Curse
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C3: นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    14 14. Welfare States
    14.1 The Three Worlds of Welfare Capitalism
    14.2 Social Policy in Developing Countries
    14.3 Unemployment, Labour Market Policy and Inequality
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์หรือประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผ่านการศึกษาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาการเรียนและการนำเสนอผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ รวมถึงการเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    15 Final Paper Presentation (I) 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์หรือประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผ่านการศึกษาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาการเรียนและการนำเสนอผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S6: นักศึกษามีทักษะในการศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ รวมถึงการเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    • C3: นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    16 Final Paper Presentation (II) 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์หรือประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผ่านการศึกษาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาการเรียนและการนำเสนอผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S6: นักศึกษามีทักษะในการศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ รวมถึงการเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    • C3: นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    งานเดี่ยว
    - การสรุปองค์ความรู้และวิเคราะห์เนื้อหาที่เรียนในชั้นเรียน
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์หรือประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผ่านการศึกษาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S6: นักศึกษามีทักษะในการศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • E2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและช่วยเหลือสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ รวมถึงการเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    10
    งานเดี่ยว
    - การสรุปเนื้อหาและวิเคราะห์บทความที่กำหนด
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์หรือประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผ่านการศึกษาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S6: นักศึกษามีทักษะในการศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • E2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและช่วยเหลือสังคม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    20
    งานกลุ่ม
    - การนำเสนอบทความที่ได้รับมอบหมาย
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์หรือประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผ่านการศึกษาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาการเรียนและการนำเสนอผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S6: นักศึกษามีทักษะในการศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • E2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและช่วยเหลือสังคม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ รวมถึงการเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    • C3: นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
    10
    งานเดี่ยว
    – การนำเสนอรายงานวิจัย
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์หรือประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผ่านการศึกษาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาการเรียนและการนำเสนอผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S6: นักศึกษามีทักษะในการศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • E2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและช่วยเหลือสังคม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    10
    งานเดี่ยว
    – รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์หรือประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผ่านการศึกษาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาการเรียนและการนำเสนอผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S6: นักศึกษามีทักษะในการศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • E2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและช่วยเหลือสังคม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ รวมถึงการเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    25
    สอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์หรือประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผ่านการศึกษาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ
    • S1: นักศึกษามีทักษะการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบกับการพัฒนาเบื้องต้น
    • S2: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้านการเมืองเปรียบเทียบ ในบริบทการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S6: นักศึกษามีทักษะในการศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • E2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและช่วยเหลือสังคม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจทำงาน มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ รวมถึงการเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    25
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Hobbes, Thomas. “Of the Natural Condition of Mankind as Concerning their Felicity and Misery.” Chapter 13 in Leviathan. Renaissance Books, 2013. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Hobbes, Thomas. “Of the Causes, Generation, and Definition of a Commonwealth.” Chapter 17 in Leviathan. Renaissance Books, 2013. ISBN: 9781619491700. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Hume, David. “Of the Origin of Government.” Part 1, Essay V in Essays, Moral, Political and Literary. econlib.org. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Tilly, Charles. “States and their Citizens.” Chapter 4 in Coercion, Capital, and European States, AD 990–1990. Wiley-Blackwell, 1992, pp. 96–107. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Aristotle. “The Politics.” In Aristotle: The Politics and Constitution of Athens. Edited by Stephen Everson. Cambridge University Press, 1996, Book III, Chapters 6–12 and Book IV, Chapters 1–2. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Schmitter, Philippe C., and Terry Lynn Karl. “What Democracy is…and is Not.” Journal of Democracy 2, no. 3 (1991): 75–88. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม de Tocqueville, Alexis. “What are the Real Advantages That American Society Gains from the Government of Democracy?” In Democracy in America. Vol. 2. Edited by Eduardo Nolla. Liberty Fund, 2012, pp. 375–84. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Zakaria, Fareed, and Lee Kuan Yew. “Culture Is Destiny: A Conversation with Lee Kuan Yew.” Foreign Affairs 73, no. 2 (1994): 109–26. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Horowitz, Donald L. Ethnic Groups in Conflict. University of California Press, 2000, pp. 51–64. ISBN: 9780520227064. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Fisman, Raymond, and Edward Miguel. “Corruption, Norms, and Legal Enforcement: Evidence from Diplomatic Parking Tickets.” Journal of Political Economy 115, no. 6 (2007): 1020–48. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Lijphart, Arend. “Introduction.” Chapter 1 in Patterns of Democracy: Government Forms and Performance in Thirty-Six Countries. Yale University Press, 1999. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Lijphart, Arend. “Executive-Legislative Relations: Patterns of Dominance and Balance of Power.” Chapter 7 in Patterns of Democracy: Government Forms and Performance in Thirty-Six Countries. Yale University Press, 1999, pp. 116–24. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Lijphart, Arend. “Electoral Systems: Majority and Plurality Methods Versus Proportional Representation.” Chapter 8 in Patterns of Democracy: Government Forms and Performance in Thirty-Six Countries. Yale University Press, 1999. ISBN: 9780300078930. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Stepan, Alfred. “Federalism and Democracy: Beyond the U.S. Model.” Journal of Democracy 10, no. 4 (1999): 19–34. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Simonton, Dean Keith. “Presidential IQ, Openness, Intellectual Brilliance, and Leadership: Estimates and Correlations for 42 U.S. Chief Executives.” Political Psychology 27, no. 4 (2006): 511–26. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Lipset, Seymour Martin. “Economic Development and Democracy.” Chapter 2 in Political Man: The Social Bases of Politics. Anchor Books, 1963. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Dahl, Robert A. “Why Polyarchy Developed in Some Countries and Not Others.” Chapter 18 in Democracy and Its Critics. Yale University Press, 1991. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Hoffmann-Lange, Ursula. “Germany: Twentieth Century Turning Points.” In Elites, Crises, and the Origins of Regimes. Edited by Mattei Dogan and John Higley. Rowman & Littlefield Publishers, 1998, pp. 170–74. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Overy, Richard. “From War to Third Reich 1918–1933.” Part 1 in The Penguin Historical Atlas of the Third Reich. Penguin, 1997. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Lepsius, M. Ranier. “From Fragmented Party Democracy to Government by Emergency Decree and National Socialist Takeover: Germany.” Chapter 2 in The Breakdown of Democratic Regimes: Europe. Edited by Juan J. Linz and Alfred Stepan. John Hopkins University Press, 1978. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Lipset, Seymour Martin. “‘Fascism’ – Left, Right, and Center.” Chapter 5 in Political Man: The Social Bases of Politics. Anchor Books, 1963. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Turner, Henry Ashby. “Prologue: The Field Marshal, the Corporal, and the General.” Chapter 1 in Hitler’s Thirty Days to Power: January 1933. Perseus Books, 1996, pp. 1–2. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Turner, Henry Ashby. “Determinacy, Contingency, and Responsibility.” Chapter 7 in Hitler’s Thirty Days to Power: January 1933. Perseus Books, 1996. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม aylor, A. J. P. “History Unfolds, 1918–1933.” In The Nazi Revolution: Germany’s Guilt or Germany’s Fate? Edited by John L. Snell. D. C. Heath and Company, 1966, pp. 19–26. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Simon, Walter B. “Democracy in the Shadow of Imposed Sovereignty: The First Republic of Austria.” Chapter 3 in The Breakdown of Democratic Regimes: Europe. Edited by Juan J. Linz and Alfred Stepan. John Hopkins University Press, 1978. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Stepan, Alfred. “Political Leadership and Regime Breakdown: Brazil.” Chapter 4 in The Breakdown of Democratic Regimes: Latin America. Edited by Juan J. Linz and Alfred Stepan. John Hopkins University Press, 1978. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ North, Douglass C. “Institutions.” Journal of Economic Perspectives 5, no. 1 (1991): 97–112. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Rodrik, Dani, Arvind Subramanian, et al. “Institutions Rule: The Primacy of Institutions Over Geography and Integration in Economic Development.” Journal of Economic Growth 9, no. 2 (2004): 131–65. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ de Soto, Hernando. “The Five Mysteries of Capital.” Chapter 1 in The Mystery of Capital: Why Capitalism Triumphs in the West and Fails Everywhere Else. Basic Books, 2003. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Hernando De Soto. “The Mystery of Missing Information.” Chapter 2 in The Mystery of Capital: Why Capitalism Triumphs in the West and Fails Everywhere Else. Basic Books, 2003. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Rodrik, Dani, Arvind Subramanian, et al. “Institutions Rule: The Primacy of Institutions Over Geography and Integration in Economic Development.” Journal of Economic Growth 9, no. 2 (2004): 131–65. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Carter, Susan B. “Table Ba5096–5119: Time spent on housework and family care, by sex, employment status, and type of activity: 1965–1985.” In Historical Statistics of the United States, Millennial Edition, Volume 2: Work and Welfare. Edited by Susan B. Carter, Scott Sigmund Gartner, et al. Cambridge University Press, 2006. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Ober, Josiah. “Learning from Athens.” Boston Review, March 1, 2006. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Diamond, Larry Jay. “Lessons from Iraq.” Journal of Democracy 16, no. 1 (2005): 9–23. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Darden, Keith, and Harris Mylonas. “The Promethean Dilemma: Third-party State-building in Occupied Territories.” Ethnopolitics 11, no. 1 (2012): 85–93. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Brady, Henry & Collier, David, eds. (2000). Rethinking Social Inquiry: Diverse Tools, Shared Standards. Berkeley, CA: Rowman & Littlefield Publishers. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา King, Gary, Keohane, Robert, & Verba, Sidney. (1994). Designing Social Inquiry: Scientific Inference in Qualitative Research. Princeton: Princeton University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Boix, Carles & Stokes, Susan C. (eds.), Oxford Handbook of Comparative Politics. New York: Oxford University Press. 2007 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Bowles, Samuel & Gintis, Herbert. (2006). “Social Preferences, Homo Economicus and Zoon Politikon.” In Goodin, Robert E. & Tilly, Charles eds., The Oxford Handbook of Contextual Analysis, (pp. 172-186), Oxford: Oxford University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Chandra, Kanchan. (2006). “What is Ethnicity and Does it Matter?” Annual Review of Political Science No, 9: 397-424. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Huntington, Samuel P. (1968). Political Order in Changing Societies. New Haven: Yale University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Kalyvas, Stathis. (2006). The Logic of Violence in Civil Wars. New York: Cambridge University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Scott, James. (1977) The Moral Economy of the Peasant: Rebellion and Subsistence in Southeast Asia. New Haven: Yale University Press อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Scott, James. (1987) Weapons of the Weak: Everyday Forms of Peasant Resistance. New Haven: Yale University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Anderson, Benedict. (1983). Imagined Communities. London: Verso อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Gellner, Ernest. (1983). Nations and Nationalism. Ithaca: Cornell University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Skocpol, Theda, (1979). States and Social Revolutions: A Comparative Analysis of France, Russia, and China. Cambridge: Cambridge University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Levi, Margaret. (1988). Of Rule and Revenue. Berkeley, CA: University of California Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Olson, Mancur. (1982). The Rise and Decline of Nations. New Haven: Yale University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Acemoglu, Daron & Robinson, James. (2006). Economic Origins of Dictatorship and Democracy. New York: Cambridge University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Boix, Carles. (2003). Democracy and Redistribution. New York: Cambridge University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา North, Douglas. (1990). Institutions, Institutional Change, and Economic Performance. Cambridge: Cambridge University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Downs. Anthony 1957. An Economic Theory of Democracy. Harper Collins. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Erik Martinez Kuhonta, Dan Slater, and Tuong Vu (eds.), Southeast Asia in Political Science: Theory, Region, and Qualitative Analysis (Stanford, CA: Stanford University Press, 2008) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Daniele Caraman, Comparative Politics (Oxford: Oxford University Press, 2020) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา J. Tyler Dickovick, Jonathan Eastwood and David B. MacDonald (eds.) Comparative Politics: Integrating Theories, Methods, and Cases (Oxford: Oxford University Press, 2016)
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา J. Tyler Dickovick and Jonathan Eastwood, Comparative Politics: Classic and Contemporary Readings (Oxford: Oxford University Press, 2016) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

    1. ด้านความรู้
    1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด และทฤษฎีสำคัญสำหรับการพัฒนาสังคมในขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ของหลักสูตร
    1.2 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชาพัฒนาสังคม รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางพัฒนาสังคม
    1.3 สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้

    2. ด้านทักษะ
    2.1 สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ ติดตามความก้าวหน้าในศาสตร์ รู้วิธีแก้ปัญหา และต่อยอด
    องค์ความรู้ได้
    2.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาอย่างเหมาะสม
    2.3 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ในการแก้ปัญหาทางวิชาการและการทำงาน
    2.4 มีความฉลาดทางอารมณ์ บริหารจัดการภายใต้ความกดดันทางสังคม

    3. ด้านจริยธรรม
    3.1 ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    3.2 มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา และเคารพกติกาของสังคม
    3.3 ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    3.4 รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    3.5 มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย

    4. ด้านลักษณะบุคคล
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม และมีจิตใจในการให้บริการที่ดี

    5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีทักษะกระบวนการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสถิติในระดับพื้นฐาน ในการแสวงหาความรู้เพื่อการปฏิบัติงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
    5.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสาร และค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    5.3 ใช้ภาษาไทยได้ดีทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและให้เหมาะสมกับสถานการณ์
    5.4 มีความสามารถในการใช้เครื่องมือที่หลากหลายและเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้อย่างเหมาะสม