รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
บทที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยา 1.1 ความหมายและลักษณะของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยา 1.2 ประเภทของทฤษฎีทางสังคมวิทยา 1.3 ประเด็นถกเถียงเรื่องคู่ตรงข้ามในทฤษฎีทางสังคมวิทยา ปัจเจก vs สังคม/ ผู้กระทำการ vs โครงสร้าง/ จุลภาค vs มหภาค |
6 |
|
(1) พบนักศึกษาเพื่อแจกแผนการสอนเป็นไฟล์ pdf ที่อัพโหลดลงบน Google Classroom แนะนำการเรียนการสอน และแนวทางการประเมินผลรายวิชา (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎีโดยใช้สไลด์ Presentation และยกตัวอย่างกรณีศึกษา (3) นักศึกษาวิพากษ์และอภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา (5) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบคำบรรยาย เอกสารประกอบการสอน สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2550). “บทที่ 1 ความคิดทางสังคมและทฤษฎีสังคม และ เชษฐา พวงหัตถ์. 2548. โครงสร้าง-ผู้กระทำการ. หน้า 88-117 ซึ่งอัพโหลดขึ้นระบบ Google Classroom หลังจบสัปดาห์ที่ 1 (6) นักศึกษาทำแบบทดสอบย่อยในระบบ Google Classroom เมื่อจบสัปดาห์ที่ 2 |
|
3-4 |
บทที่ 2 ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ 2.1 แนวคิดสำคัญของทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ 2.2 ทฤษฎีทางสังคมวิทยาคลาสสิคของเอมิล เดอร์ไคม์ (Emile Durkheim) และเฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์ (Herbert Spencer) 2.3 ทฤษฎีหน้าที่นิยมของทัลค็อตต์ พาร์สันส์ (Talcott Parsons) |
6 |
|
(1) พบนักศึกษา (2) นักศึกษาเอกสารประกอบการสอน: สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2550). “บทที่ 3 ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่นิยม” ใน ทฤษฎีสังคมวิทยา เนื้อหาและแนวการใช้ประโยชน์เบื้องต้น. หน้า 25-51. ซึ่งอัพโหลดขึ้นระบบ Google Classroom หลังจบสัปดาห์ที่ 2 (3) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎีโดยใช้สไลด์ Presentation และยกตัวอย่างกรณีศึกษา (4) นักศึกษาวิพากษ์และอภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา (6) นักศึกษาทำแบบทดสอบย่อยในระบบ Google Classroom เมื่อจบสัปดาห์ที่ 4 |
|
5-6 |
บทที่ 3 ทฤษฎีความขัดแย้ง 3.1 แนวคิดเรื่องชนชั้นของคาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) แม็กซ์ เวเบอร์ (Max Weber) และ ปิแอร์ บูดิเยอร์ (Pierre Bourdieu) 3.2 แนวคิดสำคัญและทฤษฎีความขัดแย้งของกิออร์ก ซิมเมล (Georg Simmel) 3.3 แนวคิดสำคัญและทฤษฎีความขัดแย้งของลูวอิส เอ. โคเซอร์ (Lewis A. Coser) และคนอื่นๆ |
6 |
|
(1) พบนักศึกษา (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบคำบรรยาย สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2550). “บทที่ 6-7 ทฤษฎีความขัดแย้ง” ใน ทฤษฎีสังคมวิทยา เนื้อหาและแนวการใช้ประโยชน์เบื้องต้น. หน้า 71-113. ซึ่งอัพโหลดขึ้นระบบ Google Classroom หลังจบสัปดาห์ที่ 4 (3) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎีโดยใช้สไลด์ Presentation และยกตัวอย่างกรณีศึกษา (4) นักศึกษาวิพากษ์และอภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา (6) นักศึกษาทำแบบท3ดสอบย่อยในระบบ Google Classroom เมื่อจบสัปดาห์ที่ 6 |
|
7 |
บทที่ 4 แนวคิดการกระทำอย่างมีเหตุผล และทฤษฎีการแลกเปลี่ยน 4.1 แนวคิดการใช้เหตุผล (Rationality) และการกระทำทางสังคมของแมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) 4.2 แนวคิดสำคัญของทฤษฎีการแลกเปลี่ยน |
3 |
|
(1) พบนักศึกษา (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบคำบรรยาย จิราภา วรเสียงสุข. 2558. แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber):เหตุผลของการกระทำอธิบายพัฒนาการของสังคม หลังจบสัปดาห์ที่ 6 (3) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎีโดยใช้สไลด์ Presentation และยกตัวอย่างกรณีศึกษา (4) นักศึกษาวิพากษ์และอภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา (6) นักศึกษาทำแบบทดสอบย่อยในระบบ Google Classroom เมื่อจบสัปดาห์ที่ 7 |
|
8-9 |
บทที่ 5 ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interactionism) 5.1 แนวคิดสำคัญของทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ 5.2 ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ของจอร์จ เฮอร์เบิร์ต มี้ด (George Herbert Mead) และ เออร์วิ่ง กอฟแมน (Erving Goffman) |
6 |
|
(1) พบนักศึกษา (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบคำบรรยาย บทที่ 5 สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2550). “บทที่ 10-11 ทฤษฎีการกระทำระหว่างกันด้วยสัญลักษณ์” ใน ทฤษฎีสังคมวิทยา เนื้อหาและแนวการใช้ประโยชน์เบื้องต้น. หน้า 157-194.ซึ่งอัพโหลดขึ้นระบบ Google Classroom หลังจบสัปดาห์ที่ 7 (3) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎีโดยใช้สไลด์ Presentation และยกตัวอย่างกรณีศึกษา (4) นักศึกษาวิพากษ์และอภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา (6) นักศึกษาทำแบบทดสอบย่อยในระบบ Google Classroom เมื่อจบสัปดาห์ที่ 9 |
|
10-11 |
บทที่ 6. ทฤษฎีปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenology) และชาติพันธุ์วิธีวิทยา (Ethnomethodology) 6.1 แนวคิดสำคัญและทฤษฎีของเอ็ดมุนด์ ฮุสเซิร์ล (Edmund Husserl) อัลเฟรด ชูทซ์ (Alfred Schutz) แฮโรลด์ การ์ฟิงเคิล (Harold Garfinkel) 6.2 แนวคิด Doing Gender |
6 |
|
(1) พบนักศึกษา (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบคำบรรยาย บทที่ 6 สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2550). “บทที่ 12-13 ทฤษฎีปรากฏการณ์นิยม” ใน ทฤษฎีสังคมวิทยา เนื้อหาและแนวการใช้ประโยชน์เบื้องต้น. หน้า 195-206. ซึ่งอัพโหลดขึ้นระบบ Google Classroomหลังจบสัปดาห์ที่ 9 (3) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎีโดยใช้สไลด์ Presentation และยกตัวอย่างกรณีศึกษา (4) นักศึกษาวิพากษ์และอภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา (6) นักศึกษาทำแบบทดสอบย่อยในระบบ Google Classroom เมื่อจบสัปดาห์ที่ 11 |
|
12 |
บทที่ 7 ทฤษฎีวิพากษ์ 7.1 ที่มาของทฤษฎีวิพากษ์ 7.2 แนวคิดและทฤษฎีของนักคิดสำนักแฟร้งเฟิร์ต (Frankfurt School) ได้แก่ กิออร์ก ลูคัช (Georg Lucacs) ธีโอดอร์ อะดอร์โน (Theodor Adorno) และ เจอร์เก้น ฮาเบอร์มาส (Jurgen Habermas) 7.3 แนวคิดของนักสังคมวิทยาเชิงวิพากษ์ในยุโรป ได้แก่ อันโตนิโอ กรัมชี่ (Antonio Gramsci) หลุยส์ อัลธูสแซร์ (Louis Althusser) |
3 |
|
(1) พบนักศึกษา (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบคำบรรยาย บทที่ 7 ซึ่งอัพโหลดขึ้นระบบ Google Classroom หลังจบสัปดาห์ที่ 12 (3) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎีโดยใช้สไลด์ Presentation และยกตัวอย่างกรณีศึกษา (4) นักศึกษาวิพากษ์และอภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา (6) นักศึกษาทำแบบทดสอบย่อยในระบบ Google Classroom เมื่อจบสัปดาห์ที่ 12 |
|
13 |
บทที่ 8 แนวคิดและทฤษฎีหลังสมัยใหม่ 8.1 แนวคิดสำคัญของทฤษฎีหลังสมัยใหม่ 8.2 แนวคิดและทฤษฎีของนักทฤษฎีหลังสมัยใหม่ ได้แก่ มิเชล ฟูโกต์ (Michel Foucault) ฌอง-ฟรองซัวส์ ลีโอตารด์ (Jean-Francois Lyotard) และ ฌอง โบดริยาร์ด (Jean Baudrillard) |
3 |
|
(1) พบนักศึกษา (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบคำบรรยาย บทที่ 8 สุภางค์ จันทวานิช. (2551). “ทฤษฎีหลังสมัยใหม่ (โพสต์โมเดิร์น)” ใน ทฤษฎีสังคมวิทยา. หน้า 265-315. ซึ่งอัพโหลดขึ้นระบบ Google Classroom หลังจบสัปดาห์ที่ 12 (3) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎีโดยใช้สไลด์ Presentation และยกตัวอย่างกรณีศึกษา (4) นักศึกษาวิพากษ์และอภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา (6) นักศึกษาทำแบบทดสอบย่อยในระบบ Google Classroom เมื่อจบสัปดาห์ที่ 13 |
|
14-15 |
นักศึกษานำเสนอ - แนวโน้มของทฤษฎีสังคมวิทยาและการประยุกต์ใช้ - แนวคิดทางสังคมวิทยาในการศึกษาสังคมในปัจจุบันและการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยาในการศึกษาสังคม |
6 |
|
(1) ปฏิบัติการนักศึกษานำเสนอผลการค้นคว้า อภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ | |
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การเข้าชั้นเรียน |
|
5 | สัปดาห์ที่ 1-15 |
การมีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น |
|
5 | สัปดาห์ที่ 1-15 |
แบบทดสอบย่อยหลังมอบหมายให้อ่านเอกสารประกอบการเรียน |
|
40 | สัปดาห์ที่ 2, 4, 6, 7, 9, 11, 12, 13 |
การเขียนรายงานกลุ่มและนำเสนอปรากฏการณ์ทางสังคมที่นักศึกษาสนใจโดยนำแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวข้องมาอธิบาย |
|
20 | สัปดาห์ที่ 14-15 |
การสอบปลายภาค |
|
30 | ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | จันทนี เจริญศรี. 2545. โพสต์โมเดิร์นกับสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: วิภาษา. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | จิราภา วรเสียงสุข. 2558. ทฤษฎีสังคมวิทยายุคคลาสสิก. กรุงเทพฯ: เอ็ม แอนด์ เอ็ม เลเซอร์พริ้นต์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สัญญา สัญญาวิวัฒน์. 2550. ทฤษฎีสังคมวิทยา เนื้อหาและแนวการใช้ประโยชน์เบื้องต้น.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุภางค์ จันทวานิช. 2551. ทฤษฎีสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | โคเซอร์, ลิวอิส เอ. 2535ก. แนวความคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยา ตอน เอมิล เดอร์ไคม์. แปลโดย จามะรี พิทักษ์วงศ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | โคเซอร์, ลิวอิส เอ. 2535ข. แนวความคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยา ตอน เฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์. แปลโดย นฤจร อิทธิจีระจรัส. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | โคเซอร์, ลิวอิส เอ. 2535ค. แนวความคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยา ตอน คาร์ล มาร์กซ์. แปลโดย จามะรี พิทักษ์วงศ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
โคเซอร์, ลิวอิส เอ. 2535ง. แนวความคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยา ตอน ชาร์ลส์ ฮอร์ตัน คูลี่ย์ และ ยอร์จ เฮอร์เบิร์ต มี้ด. แปลโดย วารุณี ภูริสินสิทธิ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ราชบัณฑิตยสถาน. 2557. พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Giddens, Anthony. 1984. The Constitution of Society. Berkeley: University of California Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Goffman, Erving. 1959. The Presentation of Self in Everyday Life. New York: Anchor Books. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Mead, George H. 1934/1967. Mind, Self, and Society: from the Standpoint of a Social Behaviorist, edited by Charles W. Morris. Chicago and London: University of Chicago Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Parsons, Talcott. 1951. The Social System. Glencoe, IL: The Free Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Sanderson, Stephen K. 2001. The Evolution of Human Sociality: A Darwinian Conflict Perspective. New York, NY: Rowman & Littlefield Publishers Inc. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Spencer, Herbert. 1898. The Principles of Sociology, Vol. 1 Part 2. New York: D. Appleton and Company. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Collins, Randall. 1988. Theoretical Sociology. New York and London: Harcourt Brace Jovanovich Publishers. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Turner, Jonathan H. 2013. Theoretical Sociology 1830 to the Present. Los Angeles, CA: Sage. | ||
YouTube | Karl Marx on Alienation” https://www.youtube.com/watch?v=PZ4VzhIuKCQ | ||
YouTube | Irving Goffman and the Performed Self” https://www.youtube.com/watch?v=6Z0XS-QLDWM | ||
YouTube | Philosophy – Michel Foucault” https://www.youtube.com/watch?v=BBJTeNTZtGU |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ