Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS457209
ภาษาไทย
Thai name
การจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะ
ภาษาอังกฤษ
English name
Data Management for Public Governance
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์อิมรอน โสะสัน
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์อิมรอน โสะสัน
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถระบุขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธรณะ ได้แก่ การค้นหา การแสวงหา การได้มา การประเมินผล และการประยุกต์ใช้
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูล การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้วิทยาการข้อมูล, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน กระบวนการคิด และทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ไขปัญหาได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    วิทยาการข้อมูล, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูล การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Data science, database management and data warehousing; data analytic and visualization; application of digital tools in data analysis, essential skills for data analytics.
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Problem-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 ชี้แจงวิธีการเรียน การสอนและการประเมินผล
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยว นิยามแนวคิด การบริหารจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะ วิทยาการข้อมูล, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถระบุขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธรณะ ได้แก่ การค้นหา การแสวงหา การได้มา การประเมินผล และการประยุกต์ใช้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูล การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้วิทยาการข้อมูล, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน กระบวนการคิด และทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ไขปัญหาได้
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    1. การพบนักศึกษาในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนการสอน และการส่งงาน ตลอดจนเกณฑ์การประเมินผล
    2. การอธิบายประมวลรายวิชา จุดประสงค์ของการเรียนรู้ และโลกทัศน์ที่ดีต่อการเรียนรู้ แนะนำวิธีการเรียน การใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้
    3. การอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนิยามแนวคิดการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    3-4 พัฒนาการของแนวคิด ประเภท คุณลักษณะ ของการบริหารจัดการข้อมูลภาครัฐในการบริการภาคสาธารณะ
    6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถระบุขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธรณะ ได้แก่ การค้นหา การแสวงหา การได้มา การประเมินผล และการประยุกต์ใช้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูล การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้วิทยาการข้อมูล, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน กระบวนการคิด และทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ไขปัญหาได้
    การบรรยายในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom
    2. การอธิบายและอภิปรายบริบทเกี่ยวกับพัฒนาการของแนวคิด ประเภท คุณลักษณะของการบริหารจัดการข้อมูลภาครัฐในการบริการภาคสาธารณะ
    3. อภิปรายในชั้นเรียน/แบบฝึกหัด
    5-6 ทฤษฎีระบบกับการบริหารงานสาธารณะ
    นิยาม ความหมาย
    องค์ประกอบ
    การประยุกต์ใช้
    6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถระบุขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธรณะ ได้แก่ การค้นหา การแสวงหา การได้มา การประเมินผล และการประยุกต์ใช้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูล การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้วิทยาการข้อมูล, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน กระบวนการคิด และทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ไขปัญหาได้
    1. การบรรยายในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom
    2.การอธิบายและอภิปรายเกี่ยวกับ ทฤษฎีระบบกับการบริหารงานสาธารณะนิยาม ความหมาย องค์ประกอบ และการประยุกต์ใช้
    3. การมอบหมายงานเดี่ยว
    7-8 วิทยาการข้อมูล
    การจัดการฐานข้อมูล
    และคลังข้อมูล
    6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถระบุขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธรณะ ได้แก่ การค้นหา การแสวงหา การได้มา การประเมินผล และการประยุกต์ใช้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูล การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้วิทยาการข้อมูล, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน กระบวนการคิด และทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ไขปัญหาได้
    การบรรยายในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom
    2. การอธิบายและอภิปรายบริบทเกี่ยวกับ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    3. อภิปรายในชั้นเรียน
    9-10 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล
    ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
    นโยบายกับการจัดการข้อมูลเพื่อการบริการสาธารณะ

    6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถระบุขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธรณะ ได้แก่ การค้นหา การแสวงหา การได้มา การประเมินผล และการประยุกต์ใช้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูล การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้วิทยาการข้อมูล, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน กระบวนการคิด และทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ไขปัญหาได้
    1. การบรรยายในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom เกี่ยวกับการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ และนโยบายกับการจัดการข้อมูลเพื่อการบริการสาธารณะ
    2. การค้นคว้าด้วยตนเอง
    3.การอภิปรายในชั้นเรียน/มอบหมายรายงานภาคการศึกษา (งานกลุ่ม)
    11-13 การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล
    ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล

    9
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถระบุขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธรณะ ได้แก่ การค้นหา การแสวงหา การได้มา การประเมินผล และการประยุกต์ใช้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูล การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้วิทยาการข้อมูล, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน กระบวนการคิด และทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ไขปัญหาได้
    1. การบรรยายในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom
    2.การเกี่ยวกับการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
    2. การค้นคว้างานกลุ่ม
    3.การอภิปรายในชั้นเรียน
    14-15 รายงานภาคการศึกษา ประเด็น การบริหารจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะ
    สรุปบทเรียน และ ข้อเสนอแนะ
    6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถระบุขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธรณะ ได้แก่ การค้นหา การแสวงหา การได้มา การประเมินผล และการประยุกต์ใช้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูล การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้วิทยาการข้อมูล, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน กระบวนการคิด และทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    1. การค้นคว้าด้วยตนเอง
    2. นักศึกษานำเสนอรายงานภาคการศึกษาประเด็น การบริหารจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะ ที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    3. อภิปรายในชั้นเรียน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    สอบกลางภาค
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถระบุขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธรณะ ได้แก่ การค้นหา การแสวงหา การได้มา การประเมินผล และการประยุกต์ใช้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูล การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้วิทยาการข้อมูล, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน กระบวนการคิด และทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    20
    สอบปลายภาค
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถระบุขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธรณะ ได้แก่ การค้นหา การแสวงหา การได้มา การประเมินผล และการประยุกต์ใช้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูล การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้วิทยาการข้อมูล, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน กระบวนการคิด และทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    20
    การเข้าเรียน การมีส่วนร่วม อภิปรายแลกเปลี่ยน
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถระบุขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธรณะ ได้แก่ การค้นหา การแสวงหา การได้มา การประเมินผล และการประยุกต์ใช้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูล การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    10
    รายงานส่วนบุคคล
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถระบุขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธรณะ ได้แก่ การค้นหา การแสวงหา การได้มา การประเมินผล และการประยุกต์ใช้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูล การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้วิทยาการข้อมูล, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    10
    การนำเสนอความก้าวหน้าของรายงานกลุ่ม
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถระบุขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธรณะ ได้แก่ การค้นหา การแสวงหา การได้มา การประเมินผล และการประยุกต์ใช้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูล การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้วิทยาการข้อมูล, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน กระบวนการคิด และทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    10
    การนำเสนอรายงานกลุ่ม
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับ วิทยาการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถระบุขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธรณะ ได้แก่ การค้นหา การแสวงหา การได้มา การประเมินผล และการประยุกต์ใช้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูล การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลในการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนการจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้วิทยาการข้อมูล, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน กระบวนการคิด และทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    30 เกณฑ์การพิจารณา
    1. ไม่มีคำผิด 2. มีการนำเสนอชัดเจน ตามลำดับและวิเคราะห์ 3. มีการอ้างอิงถูกต้อง สามารถบอกแหล่งที่มาของข้อมูลได้ถูกต้อง 4. ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบและการนำเสนอ 5. ความตรงเวลาในการส่งงานและการนำเสนองาน 6. การตอบคำถาม
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Zuiderwijk, A., Chen, Y. C., & Salem, F. (2021). Implications of the use of artificial intelligence in public governance: A systematic literature review and a research agenda. Government Information Quarterly, 38(3), 101577. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    1-s2.0-S0740624X21000137-main.pdf
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Thompson, N., Ravindran, R., & Nicosia, S. (2015). Government data does not mean data governance: Lessons learned from a public sector application audit. Government information quarterly, 32(3), 316-322.https://doi.org/10.1016/j.giq.2015.05.001 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Heckman, J. J. (2001). Micro data, heterogeneity, and the evaluation of public policy: Nobel lecture. Journal of political Economy, 109(4), 673-748. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Khatri, V., & Brown, C. V. (2010). Designing data governance. Communications of the ACM, 53(1), 148-152. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    1629175.1629210.pdf
    หนังสือ หรือ ตำรา Ladley, J. (2019). Data governance: How to design, deploy, and sustain an effective data governance program. Academic Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Cheong, L. K., & Chang, V. (2007). The need for data governance: a case study. ACIS 2007 proceedings, 100. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    The Need for Data Governance_ A Case Study.pdf
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Korhonen, J. J., Melleri, I., Hiekkanen, K., & Helenius, M. (2014). Designing data governance structure: an organizational perspective. GSTF Journal on Computing (JoC), 2(4). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Otto, B., Weber, K. (2011). Data Governance. In: Hildebrand, K., Gebauer, M., Hinrichs, H., Mielke, M. (eds) Daten- und Informationsqualität. Vieweg+Teubner. https://doi.org/10.1007/978-3-8348-9953-8_16 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    Data Governance.pdf
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Al-Ruithe, M., Benkhelifa, E., & Hameed, K. (2019). A systematic literature review of data governance and cloud data governance. Personal and Ubiquitous Computing, 23, 839-859. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    s00779-017-1104-3.pdf
    YouTube กรอบการกำกับดูแลข้อมูล (Data Governance Framework)
    https://www.youtube.com/watch?v=Qew87RuFbZE
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    YouTube หลักการสำคัญพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 EP.1
    https://www.youtube.com/watch?v=MBeK0KrHd5w&t=3s
    หลักการสำคัญพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 EP.2
    https://www.youtube.com/watch?v=7h72snD29Ls&t=4s
    หลักการสำคัญพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 EP.3
    https://www.youtube.com/watch?v=lPbIiFC5L6I
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    YouTube ปฏิรูปราชการทำได้จริงหรือ ความท้าทายอยู่ตรงไหน | Executive Espresso EP.255
    https://www.youtube.com/watch?v=JK0eSr3gEiw
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    YouTube Introduction to Systems Theory
    https://www.youtube.com/watch?v=jY7638w6gkI
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)