Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS471902
ภาษาไทย
Thai name
ขอบเขตและวิธีการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์
ภาษาอังกฤษ
English name
SCOPE AND METHODS IN PUBLIC ADMINISTRATION
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์
    • รองศาสตราจารย์สุกัญญา เอมอิ่มธรรม
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • ขอบข่าย พัฒนาการ ของแนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • วิธีการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • การวิเคราะห์เปรียบเทียบแนวคิด ทฤษฎีและวิธีการทางรัฐประศาสนศาสตร์
      • การนำเสนอแนวโน้มของแนวคิด ทฤษฎีและวิธีการทางรัฐประศาสนศาสตร์
      • การร่วมวางแผนการศึกษาค้นคว้าร่วมกันของนักศึกษา
      • การให้คำแนะนำอย่างสร้างสรรค์ในการปรับปรุงรายงานการศึกษาค้นคว้า
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • การจัดทำรายงานการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการวิเคราะห์เปรียบเทียบแนวคิดทฤษฎี.
      • การนำเสนอและร่วมอภิปรายในชั้นเรียน
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      การวิเคราะห์ เปรียบเทียบทฤษฎีและงานการศึกษาในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ พัฒนาการ ขอบข่ายของศาสตร์ แนวโน้มของทฤษฎีและวิธีการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคร่วมสมัย
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Analysis of comparative theories and studies in public administration, its development and scope of science, as trend of contemporary theories and methods of public administration studies.
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Problem-based learning
      • Project-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 แนะนำรายวิชา เนื้อหา วิธีการศึกษา การประเมินผล และเอกสารประกอบการศึกษา 3
        กิจกรรม
        บรรยายและอภิปราย

        สื่อ
        แผนการสอน.

        วิธีการประเมิน
        คำถามและข้อเสนอแนะของนักศึกษา
        2 ความหมาย ขอบเขตและวิธีการของ
        รปศ.
        3
          กิจกรรม
          บรรยายและอภิปราย

          สื่อ
          Power Point

          วิธีการประเมิน
          การร่วมอภิปรายในชั้นเรียน.
          3 พัฒนาการของกระบวนทัศน์ แนวคิดทฤษฎีทาง รปศ. 3
            กิจกรรม
            บรรยายและอภิปราย

            สื่อ
            Power Point

            วิธีการประเมิน
            การร่วมอภิปรายในชั้นเรียน.
            4 พัฒนาการของกระบวนทัศน์ แนวคิดทฤษฎีทาง รปศ. (ต่อ) 3
              กิจกรรม
              บรรยายและอภิปราย

              สื่อ
              Power Point

              วิธีการประเมิน
              การร่วมอภิปรายในชั้นเรียน.
              5 การวิเคราะห์เปรียบเทียบกระบวนทัศน์ แนวคิดทฤษฎีทาง รปศ. 3
                กิจกรรม
                บรรยายและอภิปราย

                สื่อ
                Power Point

                วิธีการประเมิน
                การร่วมอภิปรายในชั้นเรียน.
                6 พัฒนาการของกระบวนทัศน์ แนวคิดทฤษฎีทาง รปศ. (ต่อ) 3
                  กิจกรรม
                  บรรยายและอภิปราย

                  สื่อ
                  Power Point

                  วิธีการประเมิน
                  การร่วมอภิปรายในชั้นเรียน.
                  7 การศึกษาแนวคิดทฤษฎีสำคัญ
                  ของ รปศ.
                  3
                    กิจกรรม
                    การนำเสนอรายงานการศึกษาค้นคว้า

                    สื่อ
                    Power Point และรายงาน

                    วิธีการประเมิน
                    การนำเสนอรายงาน การอภิปราย การตอบคำถามและการให้ข้อเสนอแนะ
                    8 ทฤษฎีองค์การสำคัญของ รปศ.
                    3
                      กิจกรรม
                      บรรยาย การนำเสนอรายงานและการอภิปราย

                      สื่อ
                      Power Point

                      วิธีการประเมิน
                      การนำเสนอและอภิปรายในชั้นเรียน
                      9 ทฤษฎีองคืการสำคัญของ รปศ.(ต่อ)
                      3
                        กิจกรรม
                        บรรยาย การนำเสนอรายงานและการอภิปราย

                        สื่อ
                        Power Point

                        วิธีการประเมิน
                        การนำเสนอและอภิปรายในชั้นเรียน
                        10 ทฤษฎีองคืการสำคัญของ รปศ.(ต่อ)
                        3
                          กิจกรรม
                          บรรยาย การนำเสนอรายงานและการอภิปราย

                          สื่อ
                          Power Point

                          วิธีการประเมิน
                          การนำเสนอและอภิปรายในชั้นเรียน
                          11 ทฤษฎีองค์การสำคัญของ รปศ.(ต่อ)
                            กิจกรรม
                            บรรยาย การนำเสนอรายงานและการอภิปราย

                            สื่อ
                            Power Point

                            วิธีการประเมิน
                            การนำเสนอและอภิปรายในชั้นเรียน
                            12 แนวคิดทฤษฎีและ วิธีการศึกษา รปศ .ร่วมสมัย 3
                              กิจกรรม
                              บรรยาย การนำเสนอรายงานและการอภิปราย

                              สื่อ
                              Power Point

                              วิธีการประเมิน
                              การนำเสนอและอภิปรายในชั้นเรียน
                              13 แนวคิดทฤษฎีและ วิธีการศึกษา รปศ .ร่วมสมัย (ต่อ) 3
                                กิจกรรม
                                บรรยาย การนำเสนอรายงานและการอภิปราย

                                สื่อ
                                Power Point

                                วิธีการประเมิน
                                การมีส่วนร่วมอภิปราย การถามคำถามและการให้ข้อเสนอแนะ
                                14 การประยุกต์แนวคิด ทฤษฎีและวิธีการศึกษา รปศ. ในการวิจัยและแนวโน้ม รปศ. 3
                                  กิจกรรม
                                  การนำเสนอรายงานการศึกษาค้นคว้าการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎี

                                  สื่อ
                                  Power Pointและรายงานการศึกษา

                                  วิธีการประเมิน
                                  การนำเสนอและร่วมอภิปราย
                                  15 สรุปบทเรียน 3
                                    กิจกรรม
                                    อภิปราย

                                    สื่อ
                                    แผนที่มโนทัศน์

                                    วิธีการประเมิน
                                    การพัฒนาแผนที่มโนทัศน์
                                    รวมจำนวนชั่วโมง 42 0
                                    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
                                         Course assessment
                                    วิธีการประเมิน
                                    Assessment Method
                                    CLO สัดส่วนคะแนน
                                    Score breakdown
                                    หมายเหตุ
                                    Note
                                    แบบฝึกปฏิบัติการมีส่วนร่วมในการอภิปราย
                                      30 สัปดาห์ที่ 1-15
                                      รายงาน
                                        40 สัปดาห์ที่ 4,5,7,9,12,14
                                        การสอบ
                                          30 สัปดาห์ที่ 15
                                          สัดส่วนคะแนนรวม 100
                                          9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
                                               Textbook and instructional materials
                                          ประเภทตำรา
                                          Type
                                          รายละเอียด
                                          Description
                                          ประเภทผู้แต่ง
                                          Author
                                          ไฟล์
                                          File
                                          หนังสือ หรือ ตำรา Fox, Charles J. and Miller, Hugh T. (1995). Postmodern Public Administration. California : SAGE Publications, Inc.
                                          หนังสือ หรือ ตำรา Frederickson, George H. and Smith, Kevin B. (2003). The Public Administration Theory Primer. Boulder, Colorado : Westview Press.
                                          หนังสือ หรือ ตำรา Fry, Brian R. (1989). Mastering Public Administration: From Max Weber to Dwight Waldo. Chatham, New Jersey: Chatham House Publishers, Inc.
                                          หนังสือ หรือ ตำรา ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2553). ทฤษฎีองค์การ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : อินทภาษ.
                                          หนังสือ หรือ ตำรา ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2553). รัฐประศาสศาสตร์เปรียบเทียบ : เครื่องมือในการพัฒนาประเทศ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : อินทภาษ.
                                          หนังสือ หรือ ตำรา ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2555). ศัพท์รัฐประศาสศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
                                          หนังสือ หรือ ตำรา ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2555). การบริหารการพัฒนา : ความหมาย เนื้อหา แนวทาง และปัญหา. (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
                                          หนังสือ หรือ ตำรา พิทยา บวรวัฒนา. (2545). รัฐประศาสศาสตร์ : ทฤษฎีและแนวการศึกษา (คศ.1970 – 1980). (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
                                          หนังสือ หรือ ตำรา Rabin, Jack., Hildreth, W. Bbartley and Miller, Gerald J. (1998). Handbook of Public Administration. (Second Edition). New York : Marcel Dekker, Inc.
                                          หนังสือ หรือ ตำรา Rhodes, R. A. W. (2011). Editor, Public Administration : 25 Years of Analysis and Debate. Malden, MA : Wiley – Blackwell.
                                          หนังสือ หรือ ตำรา Shafritz, Jay M. and Hyde, Albert C. (1992). Classics of Public Administration. (Third Edition). Belmont, California: Wadsworth Publishing Company.
                                          หนังสือ หรือ ตำรา Shafritz, Jay M. and Ott, J. Steven. (1992). Classics of Organization Theory. (Third Edition). Belmont, California: Wadsworth Publishing Company.
                                          หนังสือ หรือ ตำรา Shafritz, Jay M. and Ott, J. Steven. (2001). Classics of Organization Theory. (Fifth Edition). Belmont, California: Wadsworth Publishing Company.
                                          บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Shafritz, Jay M.; Hyde, Albert C., eds. (2011). Classics of Public Administration (7th ed.). Boston: Wadsworth, Cengage Learning. ISBN 9781111342746.
                                          บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Sherwood, Frank P. (1990). "The Half-Century's 'Great Books' in Public Administration". Public Administration Review 50 (2): 249–264. doi:10.2307/976872.
                                          บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Straussman, Jeffrey D. (1985). "V. O. Key's "The Lack of a Budgetary Theory": Where Are We Now?". International Journal of Public Administration 7 (4): 345–374. doi:10.1080/01900698508524496.
                                          บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Stivers, Camilla (2009). "Postcards from the Past: Messages from TVA and the Grassroots". Public Administration Review 69 (6): 1196–1199. doi:10.1111/j.1540- 6210.2009.02081.x.
                                          บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Tipple, Terence J.; Wellman, J. Douglas (1991). "Herbert Kaufman's Forest Ranger Thirty Years Later: From Simplicity and Homogeneity to Complexity and Diversity". Public Administration Review 51 (5): 421–428. doi:10.2307/976411.
                                          บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Spears, Larry C., ed. (1995). Reflections on Leadership: How Robert K. Greenleaf's Theory of Servant-Leadership Influenced Today's Top Management Thinkers. New York: J. Wiley. ISBN 0471036862.
                                          หนังสือ หรือ ตำรา Rowe, Mike (2012). "Going Back to the Street: Revisiting Lipsky's Street-Level Bureaucracy". Teaching Public Administration. doi:10.1177/0144739411435439.
                                          หนังสือ หรือ ตำรา •The Study of Administration," Woodrow Wilson, 1887
                                          หนังสือ หรือ ตำรา Politics as a Vocation," Max Weber, 1918
                                          หนังสือ หรือ ตำรา Bureaucracy," Max Weber, 1922
                                          หนังสือ หรือ ตำรา Brownlow Committee report, 1937
                                          หนังสือ หรือ ตำรา The Functions of the Executive, Chester Barnard, 1939
                                          หนังสือ หรือ ตำรา "The Lack of a Budgetary Theory," V.O. Key, Jr., 1947
                                          หนังสือ หรือ ตำรา Bureaucracy, Ludwig von Mises, 1944
                                          หนังสือ หรือ ตำรา Administrative Behavior, Herbert A. Simon, 1947
                                          หนังสือ หรือ ตำรา The Administrative State, Dwight Waldo, 1948
                                          หนังสือ หรือ ตำรา TVA and the Grass Roots, Philip Selznick, 1949
                                          หนังสือ หรือ ตำรา "The Science of Muddling Through," Charles E. Lindblom, 1959
                                          หนังสือ หรือ ตำรา • The Forest Ranger, Herbert Kaufman, 1960[5]
                                          หนังสือ หรือ ตำรา • The Politics of the Budgetary Process, Aaron Wildavsky, 1964
                                          หนังสือ หรือ ตำรา •Democracy and the Public Service, Frederick C. Mosher, 1968
                                          หนังสือ หรือ ตำรา • The Intellectual Crisis in American Public Administration, Vincent Ostrom, 1973
                                          หนังสือ หรือ ตำรา • Servant Leadership, Robert K. Greenleaf, 1977
                                          หนังสือ หรือ ตำรา •"Public and Private Management: Are They Fundamentally Alike in All Unimportant Respects?," Graham T. Allison, 1980[1]
                                          หนังสือ หรือ ตำรา •Street-Level Bureaucracy, Michael Lipsky, 1980
                                          หนังสือ หรือ ตำรา • The Case for Bureaucracy, Charles Goodsell, 1983
                                          หนังสือ หรือ ตำรา The New Economics of Organization," Terry M. Moe, 1984
                                          หนังสือ หรือ ตำรา • Refounding Public Administration, Gary Wamsley et al., 1990
                                          หนังสือ หรือ ตำรา The Public Administration Theory Primer, H. George Frederickson and Kevin B. Smith, 2003
                                          10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
                                               Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
                                          การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
                                          Evaluation of course effectiveness and validation
                                          • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
                                          การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
                                          Improving Course instruction and effectiveness
                                          • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
                                          ผลการเรียนรู้
                                          Curriculum mapping
                                          1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2

                                          รายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ของแผนที่กระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
                                          หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2561)

                                          1. คุณธรรมและจริยธรรม
                                          1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
                                          1.2 มีภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ

                                          2. ความรู้
                                          2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
                                          2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
                                          2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
                                          2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ

                                          3.ทักษะทางปัญญา
                                          2.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
                                          2.2 สามารถดำเนินโครงการศึกษาที่สาคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ

                                          4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
                                          4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
                                          4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้

                                          5.ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
                                          5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
                                          5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้