Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS612204
ภาษาไทย
Thai name
การพูดทางวิทยุและโทรทัศน์
ภาษาอังกฤษ
English name
Speaking for Radio and Television
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์หนึ่งฤทัย ปานแก้ว
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์หนึ่งฤทัย ปานแก้ว
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการพูดทางวิทยุและโทรทัศน์
    • มีความรู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
    • มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
    • มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอยู่สม่ำเสมอ
    ทักษะ
    Skills
    • มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาไทยสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพใน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    • มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิทยุและโทรทัศน์ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ ประเภทและการใช้ภาษาในการพูดทางวิทยุและโทรทัศน์
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Fundamental knowledge regarding radio and television, qualifications, criterias, classifications, and language use in radio and television
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 ชี้แจงรายละเอียดวิชาวิธีการเรียน และเกริ่นนำเนื้อหา
    1. ลักษณะการพูดทางสื่อมวลชน
    1.1 วิทยุกระจายเสียง
    1.2 วิทยุโทรทัศน์
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการพูดทางวิทยุและโทรทัศน์
    ในห้องเรียน
    YouTube
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
    บรรยาย เรื่อง รูปแบบสื่้อและสื่อมวลชนในปัจจุบัน
    2-4 2. บทบาทในการพูดทางสื่อมวลชน
    2.1 ผู้ประกาศ
    2.2 ผู้บรรยาย
    2.3 ผู้ดำเนินรายการ
    2.4 พิธีกร
    9
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการพูดทางวิทยุและโทรทัศน์
    • K2: มีความรู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
    • K4: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S2: มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • E2: มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอยู่สม่ำเสมอ
    • C2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    บรรยาย เรื่อง บทบาทในการพูดทางสื่อมวลชนของผู้ประกาศ ผู้บรรยาย ผู้ดำเนินรายการ และพิธีกร
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    บทบาทสมมุติ
    ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    YouTube
    ในห้องเรียน
    5-7 3. วิธีการพูด
    3.1 การอ่านออกเสียง
    3.2 ลีลาการพูด
    ุ9
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการพูดทางวิทยุและโทรทัศน์
    • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาไทยสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพใน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    • C2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    บทบาทสมมุติ
    สาธิต
    ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    8-11 4. ประเภทของการพูดทางวิทยุ
    4.1 ข่าวและสารคดี
    4.2 การสนทนา สัมภาษณ์ และการอภิปราย
    4.3 รายการบันเทิง
    12
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการพูดทางวิทยุและโทรทัศน์
    • K2: มีความรู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
    • K4: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S2: มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    บรรยาย เรื่อง ประเภทของการพูดทางวิทยุ
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ในห้องเรียน
    12-14 5. ประเภทของการพูดทางโทรทัศน์
    5.1 ข่าวและสารคดี
    5.2 การสนทนา สัมภาษณ์ และอภิปราย
    5.3 รายการบันเทิง
    9
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการพูดทางวิทยุและโทรทัศน์
    • K2: มีความรู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
    • K4: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S2: มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    บรรยาย เรื่อง ประเภทของการพูดทางโทรทัศน์
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    บทบาทสมมุติ
    YouTube
    ในห้องเรียน
    15 6. เกณฑ์การประเมินและทดสอบผู้ประกาศของกรมประชาสัมพันธ์
    6.1 เสียง
    6.2 อักขรวิธี
    6.3 ลีลาการอ่าน
    6.4 ความชัดเจน
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการพูดทางวิทยุและโทรทัศน์
    • K2: มีความรู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
    • K3: มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
    • K4: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาไทยสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพใน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    • S2: มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอยู่สม่ำเสมอ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    YouTube
    ในห้องเรียน
    รวมจำนวนชั่วโมง 36 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการพูดทางวิทยุและโทรทัศน์
    • K2: มีความรู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
    • K3: มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
    • K4: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาไทยสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพใน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอยู่สม่ำเสมอ
    • C2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    20
    งานเดี่ยว
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการพูดทางวิทยุและโทรทัศน์
    • K2: มีความรู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
    • K3: มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
    • K4: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาไทยสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพใน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    40
    งานกลุ่ม
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการพูดทางวิทยุและโทรทัศน์
    • K2: มีความรู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
    • K3: มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
    • K4: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S2: มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอยู่สม่ำเสมอ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    20
    สอบปลายภาค
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการพูดทางวิทยุและโทรทัศน์
    • K2: มีความรู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
    • K3: มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    20
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ สวทช. เกณฑ์การประเมินและทดสอบผู้ประกาศของกรมประชาสัมพันธ์ https://www.nstda.or.th
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ผู้ประกาศข่าว
    https://www.trueplookpanya.com/explorer/occupation-step3/84
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Announcer NBTC บัตรผู้ประกาศ สำนักงานกสทช. https://www.facebook.com/nbtcannouncer
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ โครงการเส้นทางสู่ดวงดาว : ผู้ประกาศข่าวโทรทัศน์และวิทยุกระจายเสียง http://soctech.sut.ac.th/it/star/04.html
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ข่าวในพระราชสำนักช่อง 7 https://news.ch7.com/news_all/5
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ข่าวในพระราชสำนักช่อง 3 https://ch3plus.com/news/programs/royalnews
    YouTube จำกันได้มั้ย ใครพากย์เสียงนี้? มัดรวม 8 นักพากย์ จัดเต็ม ถึงใจ ได้อารมณ์! | เสียงนี้พี่เอง | Netflix https://www.youtube.com/watch?v=iAzJZR3LlWo
    YouTube รู้จักอาชีพ 'นักพากย์โฆษณา' ดาร์ท ธนทร ศิริรักษ์ - Marketeer Online ://www.youtube.com/watch?v=eBpyeqLw_j4
    YouTube The Lesson วิชาชีวิต: ดีเจพี่อ้อย นักจัดรายการวิทยุมืออาชีพ
    https://www.youtube.com/watch?v=WfsxLv7aIOY
    YouTube พี่ต้นแบบอาชีพ DJ (นักจัดรายการวิทยุ) ://www.youtube.com/watch?v=azSF-_vauto
    หนังสือ หรือ ตำรา
    วีรพงษ์ พลนิกรกิจ. (2552). คู่มือการเป็นนักจัดรายการวิทยุฯ และผู้ประกาศข่าวโทรทัศน์. กรุงเทพฯ:
    บริษัท เอดิสัน เพรส โพรดักส์ จำกัด.
    สิริชัย วงษ์สาธิตศาสตร์. (2546). การพูดตามนัยเนื้อหา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
    ฉัตรวรุณ ตันนะรัตตน์. (2544). การพูดในชีวิตประจำวัน. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย
    รามคำแหง.
    วันดี ชวดนุช. (2552). การพูดในอาชีพสื่อมวลชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย
    รามคำแหง.
    ศุภรัศมิ์ ฐิติกุลเจริญ. (2548). ข่าววิทยุกระจายเสียง. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย
    รามคำแหง.สิริชัย วงษ์สาธิตศาสตร์. (2550). วาทศาสตร์เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย
    รามคำแหง.
    สุขสวัสดิ์ ภาษิต. (2534). การวิจารณ์รายการวิทยุกระจายเสียง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
    มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
    สุภาณี นิตย์เสมอ. (2547). การเขียนบทวิทยุโทรทัศน์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย
    รามคำแหง.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2530). เอกสารการสอนชุดวิชา การผลิตรายการ
    วิทยุโทรทัศน์ หน่วยที่ 1-7. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    • นําผลการวิจัยในชั้นเรียนมาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop Course instruction and assessment according to the result from classroom research.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
    1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
    1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
    2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
    2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
    2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
    3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
    3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
    3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
    5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
    5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
    5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ