รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
1.ชี้แจงรายละเอียดวิชาวิธีการเรียน 2. ความรู้เกี่ยวกับการวิจัย: ความหมายและประเภทของงานวิจัย |
6 |
|
บรรยาย ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม |
|
3-4 | ความรู้เกี่ยวกับการวิจัย: เครื่องมือวิจัย และวิธีวิจัย | 6 | 6 |
|
บรรยาย เรื่อง ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น |
5-6 | ความรู้เกี่ยวกับการวิจัย: การวิจัยเอกสาร | 3 | ุุ6 |
|
บรรยาย ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อ่านบทความทางวิชาการและงานวิจัย |
7-8 | ความรู้เกี่ยวกับการวิจัย: การวิจัยภาคสนาม | ุ6 | 6 |
|
บรรยาย อภิปรายกลุ่ม วิพากษ์บทความทางวิชาการและงานวิจัย |
9-10 | ความรู้เกี่ยวกับการวิจัย: การออกแบบงานวิจัย | 3 | 6 |
|
บรรยาย อภิปรายกลุ่ม อ่านบทความทางวิชาการและงานวิจัย |
11-12 | ทิศทางการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย :แนวทางในการวิจัยทางภาษาศาสตร์และภาษาสื่อสารมวลชน | 6 | 6 |
|
บรรยาย อ่านบทความและงานวิจัย อภิปรายกลุ่ม นักศึกษานำเสนอผลการอภิปรายหน้าชั้นเรียน |
13-14 | ทิศทางการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย :แนวทางในการวิจัยทางวรรณกรรมและคติชนวิทยา | 3 | ุ6 |
|
บรรยาย อ่านบทความทางวิชาการและงานวิจัย อภิปรายกลุ่ม นำเสนอผลการอภิปราย ทดสอบ |
15 | กรณีศึกษาการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทยปัจจุบัน | 3 | 9 |
|
นักศึกษานำเสนอผลการศึกษาทางภาษาและวรรณกรรมไทย |
รวมจำนวนชั่วโมง | 30 | 33 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
งานเดี่ยว |
|
25 | |
สอบกลางภาค |
|
20 | |
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม |
|
10 | |
สอบปลายภาค |
|
20 | |
งานกลุ่ม |
|
25 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | สุชาติ ทองสิมา อรพินท์ คำสอน จักรนาท นาคทอง. 2552. รายงานผลการวิจัยกลุ่มกรณีศึกษาการสร้างและการวิจารณ์วรรณกรรมในพื้นที่อินเตอร์เน็ต (1 เมษายน – 30 กันยายน 2552) โครงการวิจัยการวิจารณ์ในฐานะปรากฏการณ์ของสังคมร่วมสมัยเพื่อพัฒนาความรู้สังคมศาสตร์แห่งการวิจารณ์ ภาค 2 หน้า 19-22. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | กาญจนา แก้วเทพ. 2544. ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : เอดิสันเพรสโปรดักส์. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม | กุสุมา รักษมณี. 2546. การวิจัยด้านวรรณกรรมไทย: จุดประกายให้สร้างสรรค์. เรียบเรียงจากการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง การวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย: จุดประกายให้สร้างสรรค์. 22 กรกฏาคม 2546. คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | ขำนาญ รอดเหตุภัย. 2552. การวิจัยทางภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม | ธีระ รุ่งธีระ. 2555. ประเด็นศึกษาเกี่ยวกับภาษาในงานวิจัยด้านวรรณกรรมไทยร่วมสมัยระหว่าง พ.ศ. 2533-2552: การสำรวจภาพรวม. มนุษยศาสตร์ ปีที่ 19(2) ก.ค.-ธ.ค. 2555. หน้า 207-243. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
จรัลวิไล จรูญโรจน์. 2556. เทคนิคการวิจัยทางภาษาศาสตร์. กรุงเทพฯ : สำานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 2.5 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 5.1 | 5.2 | 5.3 | 5.4 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ