รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
ความหมายของ แนวคิดนิเวศวิทยาภาษา ขอบเขตของภาษาไทย ขอบเขตของนิเวศวิทยาภาษาไทย |
3 |
|
บรรยาย ถาม-ตอบ อภิปราย เรียนในห้องเรียน ยูทูบ ภาษาไทยในอัสสัม |
|
2-3 |
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับบริบทแวดล้อม 1) ภาษา กับ ชุมชนภาษา - ความหมายของภาษา - ความหมายของชุมชนภาษา - การวิเคราะห์ชุมชนภาษา 2) ภาษา กับ นโยบายภาษา - นโยบายภาษาของชาติ - นโยบายภาษาสากล |
6 |
|
บรรยาย ถาม-ตอบ อภิปราย เรียนในห้องเรียน เรียนออนไลน์ บทความ ยูทูบ : how the langauge shape the way we think-TedTalk |
|
4-6 |
1 ประวัติภาษา 1.1 การสร้างประวัติภาษา 1.2 ประวัติศาสตร์ภาษาไทย 1.3 ประวัติภาษาถิ่น 2 ความหลากหลายภาษา 2.1 ความหลากหลายของผู้คน และ วัฒนธรรม 2.2 ความหลากหลายของภาษา 2.3 การอพยพและการเข้ามาของต่างชาติ 3 การเลือกภาษาและกำหนดบทบาท 3.1การเลือกภาษาชาติ ภาษาถิ่น ภาษาต่างประเทศ 3.2 การกำหนดบทบาทภาษา 3.3 บทบาทภาษาไทยและภาษาถิ่นปัจจุบัน 4. ค้นคว้าและแสดงความคิดเห็นต่อความหลากหลายของภาษาในสังคมไทย (งานเดี่ยว) |
9 |
|
การบรรยาย การถาม-ตอบ การอภิปลาย แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น การสอนในห้องเรียน การสอนออนไลน์ ตำรา หนังสือ บทความ ยูทูบ เว็บไซต์ การประเมิน : ผลการค้นคว้า และการแสดงความคิดเห็น |
|
7-10 |
1 การเปลี่ยนแปลงภาษา 1.1 ความหมาย 1.2 ลักษณะการเปลี่ยนแปลง 2 การสัมผัสภาษา 2.1 ความหมาย 2.2 ลักษณะการสัมผัสภาษา 3 อิทธิพลภาษาต่างประเทศ 3.1 ภาษาอังกฤษ 3.2 ภาษาในเชิงเศรษฐกิจ 4 เทคโนโลยีกับการเปลี่ยนแปลงภาษาไทย 4.1 เทคโนโลยีการสื่อสาร 4.2 เทคโนโลยีการแปล 5. ค้นคว้าประเด็น 1-4 ข้างต้น พร้อมนำเสนอ (งานกลุ่ม) |
12 |
|
การบรรยาย การถาม-ตอบ การอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น การนำเสนอผลการค้นคว้า ทำวีดีโอ สไลด์ ตำรา - หนังสือ บทความ การสอนในห้องเรียน การสอนออนไลน์ การประเมินผลการเรียนรู้ |
|
11-13 |
บทบาทภาษาในสังคมไทย 1 บทบาทภาษาชาติ 2 บทบาทภาษาถิ่น 3 บทบาทภาษาท้องถิ่น 4 บทบาทภาษาชายแดน 5 บทบาทภาษาศาสนา 6 บทบาทภาษาชายแดน 7 บทบาทภาษาต่างประเทศ |
12 |
|
บรรยาย ถาม-ตอบ อภิปราย สัมมนา : บทบาทภาษาต่างประเทศต่อสังคมไทย สอนในห้องเรียน สอนออนไลน์ ตำรา หนังสือ บทความ การประเมินผลจาก การสัมมนา |
|
14-15 |
บทบาทภาษาไทยในบริบทแวดล้อมสากล 1 ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ 1.1 การเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ 1.2 การธำรงภาษาไทยในต่างประเทศ 2 ภาษาไทยในฐานะภาษาของผู้อพยพ 2.1 ภาษาไทยในฐานะผู้อพยพมายังประเทศไทย 2.2 ภาษาไทยในฐานะภาษาผู้อพยพชาวไทย 3 ค้นหา ค้นคว้า และวิเคราะห์ นิเวศวิทยาภาษาไทยในบริบทแวดล้อมสากล |
6 |
|
บรรยาย ถามตอบ - อภิปราย นำเสนอผลการค้นคว้า บรรยายในห้องเรียน สอนออนไลน์ ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ใช้ตำรา หนังสือ บทความ ประเมินผล การค้นคว้า |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 48 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม งานเดี่ยว งานกลุ่ม |
|
100 |
การประเมินผล หมวด ความรู้ ความเข้าใจ 60 คะแนน หมวด ทักษะ ความสามารถ 30 คะแนน หมวด คุณสมบัติพึงประสงค์ 10 คะแนน |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
-UNESCO. 2003. Language Vitality and Endangerment. International Expert Meeting, Paris. -UNESCO. มปป. Information Sheet: Language Policy. Intangible Heritage, UNESCO. -รัตนา จันทร์เทาว์. นิเวศวิทยาภาษา. ขอนแก่น: เอกสารสำเนา -Garner, Mark. 2005. Language Ecology as Linguistics Theory. Kajian Linguistik dan Sastra, Vol. 17, No. 33, 2005: 91 - 101 -Fill, Alwin and Muhlhustler, Peter. 2001. The Ecolinguistics Reader: Language, Ecology, and Environment. London and New York: Continuum. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement