Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS612202
ภาษาไทย
Thai name
การสื่อสารในงานโฆษณาและประชาสัมพันธ์
ภาษาอังกฤษ
English name
Communication in Advertisement and Public Relations
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาลี ปรีชาปัญญากุล
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาลี ปรีชาปัญญากุล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมายและความสำคัญของการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    • นักศึกษามีความรู้ในเรื่องของการโน้มน้าวใจ
    • นักศึกษามีความรู้และเข้าใจในกลวิธีทางภาษาในการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีความซื่อสัตย์สุจริตต่อวิชาชีพการโฆษณาและประชาสัมพันธ์
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษาใช้ทักษะการโน้มน้าวใจและกลวิธีทางภาษาสร้างสรรค์การสื่อสารในงานโฆษณาได้
    • นักศึกษาใช้ทักษะการโน้มน้าวใจและกลวิธีทางภาษาสร้างสรรค์การสื่อสารในงานประชาสัมพันธ์ได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความหมาย ความสำคัญ การโน้มน้าวใจ กลวิธีทางภาษา การสื่อสารในงานโฆษณาและประชาสัมพันธ์
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Meaning, significance, persuasion, language techniques, communication in advertisement and public relations
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Problem-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-3 ชี้แจงรายละเอียดรายวิชาและวิธีการเรียนการสอน พร้อมข้อตกลงเบื้องต้น
    1.ความหมาย
    1.1 การโฆษณา
    1.2 การประชาสัมพันธ์

    2. ความสำคัญ
    2.1 การโฆษณา
    2.2 การประชาสัมพันธ์
    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมายและความสำคัญของการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    บรรยายเนื้อหาเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ พร้อมกับยกตัวอย่างและกรณีศึกษางานโฆษณาและประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน แล้วให้นักศึกษาในชั้นเรียนได้อภิปรายร่วมกัน
    4-6 3. การโน้มน้าวใจ

    3.1 จิตวิทยาการโน้มน้าวใจ
    3.2 การใช้ภาษาในการโน้มน้าวใจ
    9
    • K2: นักศึกษามีความรู้ในเรื่องของการโน้มน้าวใจ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยายเนื้อหาเกี่ยวกับการโน้มน้าวใจ จิตวิทยาในการโน้มน้าวใจและการใช้ภาษาในการโน้มน้าวใจ พร้อมกับยกตัวอย่างและกรณีศึกษาภาษาในการโน้มน้าวใจ แล้วให้นักศึกษาในชั้นเรียนได้อภิปรายร่วมกันเป็นกลุ่ม จากนั้นให้นักศึกษาทำการศึกษาเฉพาะรายบุคคลเลือกภาษาในการโน้มน้าวใจที่ชอบที่สุดและวิเคราะห์ให้เพื่อนร่วมชั้นเรียนฟัง
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    7-9 4.กลวิธีทางภาษา
    4.1 กลวิธีทางภาษาในงานโฆษณา
    4.2 กลวิธีทางภาษาในงานประชาสัมพันธ์
    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมายและความสำคัญของการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    • K3: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจในกลวิธีทางภาษาในการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยายเรื่องกลวิธีทางภาษาในการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ รวมทั้งให้นักศึกษาศึกษางานโฆษณาและงานประชาสัมพันธ์ พร้อมกับให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มศึกษากลวิธีการใช้ภาษาทั้งงานโฆษณาและงานประชาสัมพันธ์ พร้อมนำเสนอว่างานทั้งสองประเภทนั้นใช้กลวิธีทางภาษาเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร วิเคราะห์ร่วมกันในชั้นเรียน ก่อนที่จะแยกวิเคราะห์เป็นรายกลุ่ม โดยศึกษางานจากสื่อหลายประเภท เช่น สิ่งพิมพ์ วีดิทัศน์ หรือแม้แต่ช่องทางสื่อใหม่ เช่น สื่อสังคมออนไลน์ ยูทูป เป็นต้น

    10-12 5.การสื่อสารในงานโฆษณา
    5.1 สื่อสิ่งพิมพ์
    5.2 สื่อใหม่
    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมายและความสำคัญของการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    • K2: นักศึกษามีความรู้ในเรื่องของการโน้มน้าวใจ
    • K3: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจในกลวิธีทางภาษาในการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    • S1: นักศึกษาใช้ทักษะการโน้มน้าวใจและกลวิธีทางภาษาสร้างสรรค์การสื่อสารในงานโฆษณาได้
    • E1: นักศึกษามีความซื่อสัตย์สุจริตต่อวิชาชีพการโฆษณาและประชาสัมพันธ์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    นักศึกษาสามารถสื่อสารงานโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อใหม่ได้ด้วยการประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านความหมาย ความสำคัญ การโน้มน้าวใจและกลวิธีทางภาษา ด้วยการวิเคราะห์และผลิตชิ้นงานการสื่อสารโฆษณาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนในชั้นเรียนทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
    13-15 6.การสื่อสารในงานประชาสัมพันธ์
    6.1 สื่อสิ่งพิมพ์
    6.2 สื่อใหม่
    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมายและความสำคัญของการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    • K2: นักศึกษามีความรู้ในเรื่องของการโน้มน้าวใจ
    • K3: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจในกลวิธีทางภาษาในการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    • S2: นักศึกษาใช้ทักษะการโน้มน้าวใจและกลวิธีทางภาษาสร้างสรรค์การสื่อสารในงานประชาสัมพันธ์ได้
    • E1: นักศึกษามีความซื่อสัตย์สุจริตต่อวิชาชีพการโฆษณาและประชาสัมพันธ์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    นักศึกษาสามารถสื่อสารงานประชาสัมพันธ์ในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อใหม่ได้ด้วยการประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านความหมาย ความสำคัญ การโน้มน้าวใจและกลวิธีทางภาษา ด้วยการวิเคราะห์และผลิตชิ้นงานการสื่อสารประชาสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนในชั้นเรียนทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม


    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมายและความสำคัญของการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    • K2: นักศึกษามีความรู้ในเรื่องของการโน้มน้าวใจ
    • K3: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจในกลวิธีทางภาษาในการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    10
    รายงานเดี่ยว ชิ้นที่ 1 เพื่อวัดความรู้และความเข้าใจในกลวิะีทางภาษาในการโฆษณาและประชาสัมพันธ์
    • K3: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจในกลวิธีทางภาษาในการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    10
    รายงานเดี่ยว ชิ้นที่ 2 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ที่มีมาสร้างสรรค์เป็นชิ้นงานโฆษณาได้ เป็นการประเมินทักษะการนำไปใช้จริงรายบุคคล
    • S1: นักศึกษาใช้ทักษะการโน้มน้าวใจและกลวิธีทางภาษาสร้างสรรค์การสื่อสารในงานโฆษณาได้
    • S2: นักศึกษาใช้ทักษะการโน้มน้าวใจและกลวิธีทางภาษาสร้างสรรค์การสื่อสารในงานประชาสัมพันธ์ได้
    • E1: นักศึกษามีความซื่อสัตย์สุจริตต่อวิชาชีพการโฆษณาและประชาสัมพันธ์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    20
    รายงานกลุ่ม
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมายและความสำคัญของการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    • K2: นักศึกษามีความรู้ในเรื่องของการโน้มน้าวใจ
    • K3: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจในกลวิธีทางภาษาในการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    • S1: นักศึกษาใช้ทักษะการโน้มน้าวใจและกลวิธีทางภาษาสร้างสรรค์การสื่อสารในงานโฆษณาได้
    • S2: นักศึกษาใช้ทักษะการโน้มน้าวใจและกลวิธีทางภาษาสร้างสรรค์การสื่อสารในงานประชาสัมพันธ์ได้
    • E1: นักศึกษามีความซื่อสัตย์สุจริตต่อวิชาชีพการโฆษณาและประชาสัมพันธ์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    30
    สอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมายและความสำคัญของการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    • K2: นักศึกษามีความรู้ในเรื่องของการโน้มน้าวใจ
    • K3: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจในกลวิธีทางภาษาในการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
    • E1: นักศึกษามีความซื่อสัตย์สุจริตต่อวิชาชีพการโฆษณาและประชาสัมพันธ์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    30
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา สาขานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.(2564). การสื่อสารโฆษณาและประชาสัมพันธ์ที่เปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    YouTube www.youtobe.com อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ www.kasanathai.com อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา วิโรจน์ ภัทรทีปกร (แปล). (2563.) กลยุทธ์ (ก่อน) โน้มน้าวใจ. สำนักพิมพ์วีเลิร์น:กรุงเทพฯ.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ณัฏฐ์ชุดา วิจิตรจามรี.(2559). หลักการประชาสัมพันธ์. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.

    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ธาตรี ใต้ฟ้าพูล. (2561).การประชาสัมพันธ์ร่วมสมัย. พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : โครงการตำรา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ www.facebook.com อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ https://www.netflix.com › title.The Social Dilemma | Netflix Official Site
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
    1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
    1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
    2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
    2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
    2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
    3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
    3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
    3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
    5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
    5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
    5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ