รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
- แนะนำเนื้อหาวิชา วัตถุประสงค์ของวิชา และการประเมินผล - นำเข้าสู่บทเรียน |
3 |
|
1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Hangouts Meet เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานผ่านออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ 2) บรรยายเนื้อหาและนำเข้าสู่บทเรียน ผ่านโปรแกรม Google Hangouts Meet โดยให้นักศึกษาร่วมอภิปรายประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ 3) มอบหมายงานวิจัยประจำวิชา พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน |
|
2-3 | - วิเคราะห์แนวคิดและทฤษฎีองค์การ | 6 |
|
1) การบรรยายทฤษฎีในหัวข้อแนวคิดและทฤษฎีองค์การ โดยใช้ ผ่านโปรแกรม Google Hangouts Meet หรือ Zoom 2) นักศึกษาร่วมอภิปรายประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ 3) นักศึกษานำเสนอกรณีศึกษาจากบทความวิจัยที่เกี่ยวข้อง และร่วมกันวิเคราะห์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน |
|
4 | - วิเคราะห์แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การ | 3 |
|
1) การบรรยายทฤษฎีในชั้นเรียน ในหัวข้อแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การ 2) ให้นักศึกษาฝึกการคิดวิเคราะห์โดยการกำหนดประเด็น/กรณีศึกษา และร่วมกันอภิปรายในชั้นเรียน |
|
5-7 | - กระบวนการและเทคนิคการพัฒนาองค์การ | 9 |
|
1) การบรรยายทฤษฎีในหัวข้อกระบวนการและเทคนิคการพัฒนาองค์การ ผ่านโปรแกรม Google Hangouts Meet หรือ Zoom 2) กำหนดประเด็น/กรณีศึกษา และร่วมกันอภิปรายในชั้นเรียน 3) มอบหมายงานเพื่อให้นักศึกษานำเสนอร่วมกับการอภิปราย |
|
8 | - ถอดบทเรียนแนวคิดทฤษฎีองค์การและความสำคัญของทุนมนุษย์ | 3 |
|
1) การบรรยายทฤษฎีในชั้นเรียน ในหัวข้อแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการทุนมนุษย์ในการพัฒนาองค์กร 2) ให้นักศึกษาร่วมกันถอดบทเรียนจากการศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีองค์กรและความสำคัญของการจัดการทุนมนุษย์ พร้อมนำเสนอและอภิปรายร่วมกัน 3) นักศึกษาส่งโครงร่างงานวิจัยในวิชาและเสนอแนะร่วมกัน |
|
9-11 | - วิเคราะห์แนวคิดการพัฒนาทุนมนุษย์กับการพัฒนาองค์การเชิงกลยุทธ์ | 9 |
|
1) นักศึกษาเข้าฟังบรรยายภาคทฤษฎีหัวข้อการพัฒนาทุนมนุษย์และการพัฒนาองค์การเชิงกลยุทธ์ ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Google Hangouts Meet 2) ให้นักศึกษาฝึกการคิดวิเคราะห์โดยการทำกรณีศึกษา และอภิปรายในชั้นเรียนร่วมกัน 3) นักศึกษาศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องตามกรอบสาระการเรียนรู้และเข้าไปแสดงความเห็นตามประเด็นที่กำหนดใน Discussion Forum ใน KKU E-learning 4) นักศึกษาสรุปบทเรียนและนำเสนอประเด็นการวิจัยที่เกี่ยวข้อง |
|
12-13 |
- การวิเคราะห์เปรียบเทียบนโยบายและการจัดการทุนมนุษย์ระดับชาติ - การวิเคราะห์เปรียบเทียบนโยบายและการจัดการทุนมนุษย์ระดับนานาชาติ |
6 |
|
1) นักศึกษาฟังบรรยายภาคทฤษฎีในหัวข้อการวิเคราะห์นโยบายเปรียบเทียบโดยใช้ VDO clips ผ่านโปรแกรม Zoom 2) นักศึกษานำเสนอนโยบายที่เกี่ยวข้องกับนโยบายและการจัดการทุนมนุษย์ระดับชาติและร่วมวิเคราะห์ อภิปรายตามประเด็นที่ผู้สอนกำหนด 3) นักศึกษาศึกษางานวิจัยตามที่ผู้สอนกำหนดให้ และนำมาอภิปราย ใน Discussion Forum พร้อมส่งงานสรุปผ่านโปรแกรม KKU e-Learning |
|
14 | - การวิเคราะห์เปรียบเทียบนโยบายและการจัดการทุนมนุษย์ระดับนานาชาติ | 3 |
|
1) นักศึกษาฟังบรรยายภาคทฤษฎีในหัวข้อการวิเคราะห์นโยบายเปรียบเทียบโดยใช้ VDO clips ผ่านโปรแกรม Zoom 2) นักศึกษานำเสนอนโยบายที่เกี่ยวข้องกับนโยบายและการจัดการทุนมนุษย์ระดับนานาชาติและร่วมวิเคราะห์ อภิปรายตามประเด็นที่ผู้สอนกำหนด |
|
15 | - กรณีศึกษาและสรุปบทเรียน | 3 |
|
1) นักศึกษาร่วมกันอภิปรายกรณีศึกษาที่ผู้สอนกำหนดให้ พร้อมถอดบทเรียนร่วมกัน 2) นักศึกษานำเสนองานวิจัยประจำวิชา พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในชั้นเรียน 3) นักศึกษาส่งบทความวิจัยจากงานวิจัยประจำวิชาหลังจากจบหัวข้อการบรรยาย |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน และใน Discussion Forum |
|
30 | |
การส่งงานตามที่มอบหมาย |
|
20 | |
รายงานประจำวิชา (Term Paper) |
|
30 | |
การสอบปลายภาค |
|
20 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | กิตติภูมิ วิเศษศักดิ์. 2552. การพัฒนาทุนมนุษย์ในการปรับเปลี่ยนไปสู่องค์กรสมัยใหม่หรือองค์กรสมรรถนะสูง. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | นิสดารก์ เวชยานนท์. 2551. มิติใหม่ในการบริหารทุนมนุษย์. กรุงเทพฯ: กราฟิโกซิสเต็มส์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Chandrasekhar Sripada. 2020. Leading Human Capital in the 2020s: Emerging Perspectives. Thousand Oaks: Sage Publications. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Erik Lenderman. 2019. Human Capital Management: A Brief Review of HR, Organizational Psychology, and Economic Systems. Online Platform: CreateSpace Independent Publishing. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Federal Management Partners, Inc. 2013. Human Capital Management: What Really Works in Government. Oakland: Berrett-Koehler Publishers | ||
e-Learning | KKU e-Learning: HS487991 Seminar in Organization Management and Human Capital | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์กลางของประเทศไทย https://www.tci-thaijo.org/ | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ฐานข้อมูลวารสาร SCOPUS https://www.scimagojr.com/journalsearch.php |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ของแผนที่กระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2561)
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 มีภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
3.ทักษะทางปัญญา
2.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
2.2 สามารถดำเนินโครงการศึกษาที่สาคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5.ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้