Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS612403
ภาษาไทย
Thai name
คำศัพท์และสำนวนใหม่
ภาษาอังกฤษ
English name
New Vocabularies and Expressions
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์รัตนา จันทร์เทาว์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์รัตนา จันทร์เทาว์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการการสร้างคำศัพท์
    • นักศึกษามีความรู้เกี่่ยวกับประเภทคำศัพท์ ความหมาย และที่มาของคำศัพท์ใหม่
    • นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบคำศัพท์และสำนวนใหม่ต่อภาษาไทย
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    • นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อภาษาไทยและการใช้ถ้อยคำสำนวนใหม่ที่เหมาะสมกับสังคมและวัฒนธรรมไทย
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    การสร้าง ประเภท ความหมาย ที่มาและผลกระทบของศัพท์และสำนวนใหม่ในภาษาไทย
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Creation, types, meaning, origin and impact of new vocabularies and expressions in Thai language
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Online learning
    • Blended learning
    • Work integrated learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Task-based learning
    • Project-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 ขอบเขต ความหมาย ของการเกิดคำศัพท์ สำนวนใหม่ 3
    • K1: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการการสร้างคำศัพท์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่อง ขอบเขต ความหมาย ของการเกิดคำศัพท์ สำนวนใหม่ ในภาษาหนังสือ หรือ ตำราในห้องเรียน
    2-3 ธรรมชาติของภาษา
    1 การสูญศัพท์
    2 การเพิ่มศัพท์
    6
    • K1: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการการสร้างคำศัพท์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่อง ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นบทวิจัย หรือบทความวิชาการในห้องเรียน
    4-6 การสร้างศัพท์
    1 การรับจากภายนอก
    - การยืม - การแปล - การบัญญัติ
    2 การสร้างจากภายใน
    - คำสแลง - คำเกิดใหม่ - สำนวนใหม่
    9
    • K1: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการการสร้างคำศัพท์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    บรรยาย เรื่องถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหาประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอหนังสือ หรือ ตำรา YouTube ในห้องเรียนออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    7-10 1 ประเภทของศัพท์ใหม่
    - คำยืม - คำปน -คำทับศัพท์ -คำผสม
    2 ความหมายของคำศัพท์ใหม่
    - ความหมายเดิม - ความหมายใกล้เคียง - ความหมายใหม่
    3 ที่มาของคำศัพท์ใหม่
    - ปัจจัยภายนอก เช่น การศึกษาสากล เทคโนโลยี เศรษฐกิจ วัฒนธรรมนิยม ฯลฯ
    - ปัจจัยภายใน เช่น กิจกรรมใหม่ ลักษณะใหม่ นวัตกรรมใหม่ ฯลฯ
    4 มอบหมายงาน - วิเคราะห์ประเภทคำศัพท์ใหม่ ในสังคมไทย จากหนังสือ
    "คำศัพท์ใหม่" เล่มที่ 1-3
    5 นำเสนอผลการค้นคว้า (รายกลุ่ม)
    12
    • K2: นักศึกษามีความรู้เกี่่ยวกับประเภทคำศัพท์ ความหมาย และที่มาของคำศัพท์ใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยายถาม-ตอบอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ทำงานกลุ่ม และการนำเสนอหนังสือ ยูทูบ บทความ เว็บไซต์
    สอนในห้องเรียนสอนออนไลน์ประเมินผล การเรียนรู้ จากการนำเสนอรายงานกลุ่ม
    11-13 1. สำนวนใหม่
    1.1 การเปลี่ยนแปลงสำนวนไทย
    - การเปลี่ยนสำนวนเดิม - การดัดแปลงสำนวน
    1.2 การรับสำนวนใหม่
    - การรับสำนวนจากภาษาอื่น
    - อิทธิพลจากการแปลภาษา
    2. ค้นหาถ้อยคำ สำนวนใหม่ ในภาษาพูด
    2.1 ภาษาเฉพาะบุคคล
    2.2 ภาษาเฉพาะกลุ่ม
    2.3 ภาษาเฉพาะวงการ
    3. นำเสนอผลการค้นคว้า แบบวีดีโอสั้น
    4. ประเมินผลการค้นคว้า และความน่าสนใจของการนำเสนอผลการค้นคว้า
    9
    • K2: นักศึกษามีความรู้เกี่่ยวกับประเภทคำศัพท์ ความหมาย และที่มาของคำศัพท์ใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    การบรรยาย
    การอภิปราย
    การถาม - ตอบ
    การนำเสนอผลการค้นคว้า
    การสอนในห้องเรียน
    การสอนออนไลน์
    ตำรา บทความ ยูทูบ
    ประเมินผลการค้นคว้า รายกลุ่ม
    14-15 1. ผลกระทบคำศัพท์ใหม่ต่อภาษาไทย
    1.1 การเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ แก่คนและสังคมไทย
    1.2 การสูญศัพท์
    1.3 คำศัพท์ในภาวะวิกฤต
    2. ทัศคติของคนไทยต่อคำศัพท์ สำนวน ใหม่
    2.1 ทัศนคติทางบวก
    2.2 ทัศนคติทางลบ
    3. ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการเพิ่มคำศัพท์และสำนวนในภาษาไทย
    6
    • K3: นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบคำศัพท์และสำนวนใหม่ต่อภาษาไทย
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    • E2: นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อภาษาไทยและการใช้ถ้อยคำสำนวนใหม่ที่เหมาะสมกับสังคมและวัฒนธรรมไทย
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    การบรรยาย
    การอภิปราย
    การถามตอบ
    หนังสือ บทความ
    สอนในห้องเรียน
    สอนออนไลน์
    ทำงานเดี่ยว และ ประเมินผลการเรียนรู้ระดับบุคคล
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • K1: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการการสร้างคำศัพท์
    • K2: นักศึกษามีความรู้เกี่่ยวกับประเภทคำศัพท์ ความหมาย และที่มาของคำศัพท์ใหม่
    • K3: นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบคำศัพท์และสำนวนใหม่ต่อภาษาไทย
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    • E2: นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อภาษาไทยและการใช้ถ้อยคำสำนวนใหม่ที่เหมาะสมกับสังคมและวัฒนธรรมไทย
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    20 ก่อนสอบกลางภาค 10 คะแนน
    ก่อนสอบปลายภาค 10 คะแนน

    งานเดี่ยว
    • K1: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการการสร้างคำศัพท์
    • K2: นักศึกษามีความรู้เกี่่ยวกับประเภทคำศัพท์ ความหมาย และที่มาของคำศัพท์ใหม่
    • K3: นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบคำศัพท์และสำนวนใหม่ต่อภาษาไทย
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    15
    งานกลุ่ม
    • K1: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการการสร้างคำศัพท์
    • K2: นักศึกษามีความรู้เกี่่ยวกับประเภทคำศัพท์ ความหมาย และที่มาของคำศัพท์ใหม่
    • K3: นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบคำศัพท์และสำนวนใหม่ต่อภาษาไทย
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    50 การแบ่งสัดส่วนคะแนน งานกลุ่ม
    งานครั้งที่ 1 การค้นหาคำศัพท์ใหม่ในบริบสังคมผ่านสื่อสังคมออนไลน์ คะแนน 25
    งานครั้งที่ 2 วิเคราะห์คำศัพท์ใหม่ในพจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1-2-3 ตามหมวดหมู่ความหมาย
    และให้แนวทางอรรถศาสตร์ คะแนน 25
    สอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการการสร้างคำศัพท์
    • K2: นักศึกษามีความรู้เกี่่ยวกับประเภทคำศัพท์ ความหมาย และที่มาของคำศัพท์ใหม่
    • K3: นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบคำศัพท์และสำนวนใหม่ต่อภาษาไทย
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    15
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา ราชบัณฑิตยสภา, สำนำงานราชบัณฑิตยสถาน. (2550). พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1. กรุงเทพฯ: แม็ค.
    ราชบัณฑิตยสภา, สำนักงานราชบัณฑิตยสถาน. (2552). พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม2. กรุงเทพฯ: ยูเนียนอุลตร้า
    ไวโอเลต.
    ราชบัณฑิตยสภา,สำนักงานราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 3. กรุงเทพฯ: ยูเนียนอุลตร้า
    ไวโอเลต.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ราชบัณฑิตยสภา,สำนักงานราชบัณฑิตยสถาน. (2555). สำนวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

    ไฟล์หน้งสืออิเล็กทรอนิกส์
    https://online.pubhtml5.com/dcse/rnqn/
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ สมศีล ฌานวังศะ. (มปป). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับศัพท์บัญญัติ. วารสารภาษาปริทัศน์.
    เข้าถึงที่ https://hs-cims.kku.ac.th/course/update?id=3408&form=form_9
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    64a2a222826ac_บทความ เรื่องน่ารู้ ศัพท์บัญญัติ.pdf
    หนังสือ หรือ ตำรา ราชบัณฑิตยสถาน. (2549). คำต่างประเทศที่ใช้คำไทยแทนได้ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตย-
    สถาน.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    คำต่างประเทศที่ใช้คำไทยแทนได้.pdf
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Kancana Nacaskul. (1979). A Note on English Loanword in Thai. SEALANG, pp, 151-162
    เข้าถึงที่ http://sealang.net/sala/archives/pdf8/nacaskul1979note.pdf
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย -note.pdf
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    • นําผลการวิจัยในชั้นเรียนมาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop Course instruction and assessment according to the result from classroom research.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
    1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
    1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
    2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
    2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
    2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
    3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
    3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
    3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
    5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
    5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
    5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ