Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS471993
ภาษาไทย
Thai name
สัมมนาทางการจัดการการเงินการคลังสาธารณะ
ภาษาอังกฤษ
English name
Seminar in Public Financial and Fiscal Administration
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
      อาจารย์ผู้สอน
      Lecturers
        4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
             Course learning outcomes-CLO
        ความรู้
        Knowledge
        • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านการบริหารการเงินการคลังสาธารณะจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
        จริยธรรม
        Ethics
          ทักษะ
          Skills
          • เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
          ลักษณะบุคคล
          Character
          • เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
          • เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
          • เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติ มีความภูมิใจ ชื่นชอบที่จะเป็นบุคลากรส่วนหนึ่งในการใช้หลักการบริหารจัดการที่ดีในการทำงานเพื่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในภาครัฐและเอกชน
          5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
               Description of Subject Course/Module
          ภาษาไทย
          Thai
          ความหมาย การเงินภาครัฐและการคลังภาครัฐกับการพัฒนาประเทศ การบริหารอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา การบริหารอัตราดอกเบี้ยและการจัดเก็บรสยได้ของรัฐ การจัดทำงบประมาณ การใช้จ่ายงบประมาณ การรักษาเสถียรภาพทางการเงินและการคลังภาครัฐ
          ภาษาอังกฤษ
          English
          Meaning, Public Finance and Country Development, Currency Exchange Management, Interest Rate Management, Income Collection of Government, Budgeting, Budget Expense, Financial and Budget Stability
          6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
               Delivery mode and Learning management Method
          รูปแบบ
          Delivery mode
          • Blended learning
          รูปแบบการจัดการเรียนรู้
          Learning management Method
          • Content and language integrated learning
          • Research-based learning
          • Problem-based learning
          • Project-based learning
          • Experiential learning
          • Case discussion
          • Seminar
          7. แผนการจัดการเรียนรู้
               Lesson plan
          สัปดาห์ที่
          Week
          หัวข้อการสอน
          Teaching topics
          จํานวน
          ชั่วโมง
          Number of hours
          CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
          Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
          ทฤษฎี ปฏิบัติ
          1 การแนะนำรายวิชาและวิธีการประเมินผลในสัปดาห์แรก ก่อนเข้าสู่บทเรียน
          - แนวคิดการพัฒนาประเทศในภาพรวม
          3
          • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านการบริหารการเงินการคลังสาธารณะจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
          • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
          • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
          • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
          • C3: เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติ มีความภูมิใจ ชื่นชอบที่จะเป็นบุคลากรส่วนหนึ่งในการใช้หลักการบริหารจัดการที่ดีในการทำงานเพื่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในภาครัฐและเอกชน
          1.การสอนบรรยายโดยการบรรยายสดและใช้ VDO clips ประกอบ
          2.อภิปรายใน Discussion forum ของโปรแกรม Google Hangouts Meet
          2-3 ความหมาย ความสำคัญ หลักการทฤษฎีการเงิน การคลัง 6
          • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านการบริหารการเงินการคลังสาธารณะจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
          • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
          • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
          • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
          1.การสอนบรรยายโดยการบรรยายสดและใช้ VDO clips ประกอบ
          2.อภิปรายใน Discussion forum ของโปรแกรม Google Hangouts
          4-5 ระบบ และการดำเนินการวางแผนงบประมาณ 6
          • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านการบริหารการเงินการคลังสาธารณะจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
          • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
          • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
          • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
          1.การสอนบรรยายโดยการบรรยายสดและใช้ VDO clips ประกอบ
          2.อภิปรายใน Discussion forum ของโปรแกรม Google Hangouts
          6-7 กระบวนการบริหารจัดการ การเงินการคลังภาคปฏิบัติในหน่วยงานภาครัฐ (ภาครายจ่าย รายได้/รายรับ และหนี้สิน/การกู้ยืม) 9
          • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านการบริหารการเงินการคลังสาธารณะจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
          • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
          • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
          • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
          1.การสอนบรรยายโดยการบรรยายสดและใช้ VDO clips ประกอบ
          2.อภิปรายใน Discussion forum ของโปรแกรม Google Hangouts
          8 สอบกลางภาค 3
            9-10 การบริหารการเงินการคลังระดับท้องถิ่น 6
            • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านการบริหารการเงินการคลังสาธารณะจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
            • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
            • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
            • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
            1.การสอนบรรยายโดยการบรรยายสดและใช้ VDO clips ประกอบ
            2.อภิปรายใน Discussion forum ของโปรแกรม Google Hangouts
            11-12 การทุจริตและรั่วไหลในระบบการคลัง และแนวทางการจัดการ 6
            • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านการบริหารการเงินการคลังสาธารณะจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
            • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
            • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
            • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
            1.การสอนบรรยายโดยการบรรยายสดและใช้ VDO clips ประกอบ
            2.อภิปรายใน Discussion forum ของโปรแกรม Google Hangouts
            13-14 อภิปรายแนวทางการพัฒนาการบริหารการเงินการคลังในระดับชาติและท้องถิ่นและแนวทางในการพึ่งพาตนเองทางด้านงบประมาณ 6
            • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านการบริหารการเงินการคลังสาธารณะจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
            • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
            • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
            • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
            1.การบรรยาย
            2.การแบ่งกลุ่มนักศึกษาทำกิจกรรมถามตอบ ภายในเวลาที่กำหนด โดยให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ และใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการสืบค้น และการรายงาน
            3.นักศึกษานำเสนอรายงานกลุ่มในรูปแบบ Power point presentation และให้มีการอภิปรายร่วมกัน
            15 สรุปบทเรียน แนวทางการใช้ประโยชน์จากความรู้และประสบการณ์ การแสวงหาความรู้ต่อยอด และข้อเสนอแนะทั่วไปจากผู้เรียน 3
            • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านการบริหารการเงินการคลังสาธารณะจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
            • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
            • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
            • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
            • C3: เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติ มีความภูมิใจ ชื่นชอบที่จะเป็นบุคลากรส่วนหนึ่งในการใช้หลักการบริหารจัดการที่ดีในการทำงานเพื่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในภาครัฐและเอกชน
            1.การบรรยาย
            2.การแบ่งกลุ่มนักศึกษาทำกิจกรรมถามตอบ ภายในเวลาที่กำหนด โดยให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ และใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการสืบค้น และการรายงาน
            3.นักศึกษานำเสนอรายงานกลุ่มในรูปแบบ Power point presentation และให้มีการอภิปรายร่วมกัน
            รวมจำนวนชั่วโมง 48 0
            8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
                 Course assessment
            วิธีการประเมิน
            Assessment Method
            CLO สัดส่วนคะแนน
            Score breakdown
            หมายเหตุ
            Note
            • วิเคราะห์ ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน
            • การทำงานกลุ่มและผลงาน
            • การอ่านและสรุปบทความ
            • การส่งงานตามที่มอบหมาย
            • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านการบริหารการเงินการคลังสาธารณะจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
            • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
            • A1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
            • A2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
            • A3: เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติ มีความภูมิใจ ชื่นชอบที่จะเป็นบุคลากรส่วนหนึ่งในการใช้หลักการบริหารจัดการที่ดีในการทำงานเพื่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในภาครัฐและเอกชน
            40
            • การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน
            • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านการบริหารการเงินการคลังสาธารณะจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
            • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
            • A1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
            • A2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
            • A3: เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติ มีความภูมิใจ ชื่นชอบที่จะเป็นบุคลากรส่วนหนึ่งในการใช้หลักการบริหารจัดการที่ดีในการทำงานเพื่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในภาครัฐและเอกชน
            40
            • สอบปลายภาค
            • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านการบริหารการเงินการคลังสาธารณะจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
            • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
            • A1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
            • A2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
            • A3: เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติ มีความภูมิใจ ชื่นชอบที่จะเป็นบุคลากรส่วนหนึ่งในการใช้หลักการบริหารจัดการที่ดีในการทำงานเพื่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในภาครัฐและเอกชน
            20
            สัดส่วนคะแนนรวม 100
            9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
                 Textbook and instructional materials
            ประเภทตำรา
            Type
            รายละเอียด
            Description
            ประเภทผู้แต่ง
            Author
            ไฟล์
            File
            หนังสือ หรือ ตำรา สถาพร เริงธรรม. 2563. การบริหารการคลังสาธารณะประยุกต์. เอกสารอัดสำเนา.
            แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.bb.go.th
            แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.thailocaladmin.go.th
            แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.cgd.go.th
            10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
                 Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
            การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
            Evaluation of course effectiveness and validation
            • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
            • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
            • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
            การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
            Improving Course instruction and effectiveness
            • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
            • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
            ผลการเรียนรู้
            Curriculum mapping
            1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2

            รายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ของแผนที่กระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
            หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2561)

            1. คุณธรรมและจริยธรรม
            1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
            1.2 มีภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ

            2. ความรู้
            2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
            2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
            2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
            2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ

            3.ทักษะทางปัญญา
            2.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
            2.2 สามารถดำเนินโครงการศึกษาที่สาคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ

            4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
            4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
            4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้

            5.ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
            5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
            5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้