รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยา
Sociology
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
1.บทนำ 1.1 ความสำคัญของการวิจัยและจริยธรรมในการวิจัย 1.2 ลักษณะสำคัญของการวิจัยภาคสนาม (เชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ) 1.3 การกำหนดปัญหาการวิจัย |
6 |
|
(1) พบนักศึกษาแจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และแนะนำการเรียนการสอน และแนวทางการประมวลผลรายวิชา (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎีเกี่ยวกับการวิจัย จริยธรรมการวิจัย ลักษณะสำคัญของการวิจัย และการกำหนดประเด็นปัญหา ด้วย PPT และกรณีศึกษา (3) นักศึกษาวิพากษ์และอภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
3-4 |
2. การพัฒนาแนวปฏิบัติเพื่อการวิจัยเชิงสำรวจ 2.1 การพัฒนากรอบแนวคิด 2.2 การวัดระดับตัวแปร 2.3 การกำหนดขนาดตัวอย่าง 2.4 แบบแผนการสุ่มตัวอย่าง |
6 |
|
(1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นการพัฒนาแนวปฏิบัติเพื่อการวิจัยเชิงสำรวจ ด้วย PPT และกรณีศึกษา (3) นักศึกษาวิพากษ์และอภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
5-6 |
3. เทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณ/วิจัยเชิงคุณภาพ 3.1 แบบสอบถาม/แบบสัมภาษณ์และการหาคุณภาพ 3.2 การสัมภาษณ์/การสังเกต 3.3 เครื่องมือช่วยในการเก็บข้อมูล |
6 |
|
(1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นเทคนิคการวิจัย ด้วย PPT และกรณีศึกษา (3) นักศึกษาวิพากษ์และอภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
7-8 |
4.กระบวนการจัดกระทำกับข้อมูล 4.1 การลงรหัสข้อมูลในงานเชิงปริมาณ 4.2 การจัดหมวดหมู่ข้อมูลในงานเชิงคุณภาพ |
6 |
|
(1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นกระบวนการจัดกระทำข้อมูล ด้วย PPT และกรณีศึกษา (3) นักศึกษาวิพากษ์และอภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (4) ฝึกปฏิบัติการด้วยโปรแกรม SPSS และ Atlas.ti (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
9-10 |
5.สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัย 5.1 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 5.2 สถิติสำหรับทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย 2 ค่า และ 3 ค่าขึ้นไป 5.3 สถิติสำหรับการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร |
6 |
|
(1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นสถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ด้วย PPT และกรณีศึกษา (3) นักศึกษาวิพากษ์และอภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (4) ฝึกปฏิบัติการด้วยโปรแกรม SPSS (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
11-12 |
6. การดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลในงานวิจัยเชิงปริมาณ 6.1 การวิเคราะห์ตัวแปรเดียวด้วยสถิติอย่างง่าย (Univariate analysis) 6.2 การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วย t-testและ One-way ANOVA 6.3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยสถิต Chi-square และ Correlation |
6 |
|
(1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นการเคราะห์ข้อมูลและการแปลผลการวิจัย ด้วย PPT และกรณีศึกษา (3) นักศึกษาวิพากษ์และอภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (4) ฝึกปฏิบัติการด้วยโปรแกรม SPSS (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
13-14 | 7. แนวคิดสำหรับดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลในงานเชิงคุณภาพ | 6 |
|
(1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นการเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วย PPT และกรณีศึกษา (3) นักศึกษาวิพากษ์และอภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (4) ฝึกปฏิบัติการด้วยโปรแกรม Atlas.ti (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
15 | 8. การเขียนรายงานการวิจัย | 3 |
|
(1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นการเขียนรายงานการวิจัย ด้วย PPT และกรณีศึกษา (3) นักศึกษาวิพากษ์และออภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน (4) ฝึกปฏิบัติการด้วยกรณีศึกษาการเขียนงานวิจัยที่ดี/ไม่ดี (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การค้นคว้าด้วยตนเอง และการบ้าน |
|
20 | 1-15 |
งานวิเคราะห์โจทย์วิจัย |
|
15 | 1-2 |
งานวิเคราะห์กรอบแนวคิดวิจัยเชิงคุณภาพ |
|
15 | 2-3 |
งานวิเคราะห์กรอบแนวคิดวิจัยเชิงปริมาณ |
|
15 | 2-5 |
การสอบปลายภาค |
|
35 | ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | โกมาตร จำเสถียรทรัพย์และคณะ. 2545. วิถีชุมชน กรุงเทพฯ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | นิศา ชูโต.2540. การวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ พีเอการพิมพ์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | บัณฑิตวิทยาลัย. 2537.คู่มือการทำวิทยานิพนธ์. ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์.2540.ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์.กรุงเทพฯ: หจก. การพิมพ์พระนคร | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์.2527. การวิเคราะห์เส้นโยงทางสังคมและพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ปาริชาติ วลัยเสถียร.2543. กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. กรุงเทพฯ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. 2549. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวสู่การศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ. ขอนแก่น : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. 2529. สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์.ขอนแก่น : ภาควิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. 2540. ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : หจก. ภาพพิมพ์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สำเริง จันทรสุวรรณ และสุวรรณ บัวทวน. 2547. สถิติสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุภางค์ จันทวานิช. 2542. วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุภาพ วาดเขียน. 2525. เครื่องมือวิจัยทางสังคมศาสตร์ : ลักษณะที่ดี ชนิด และวิธีหาคุณภาพ.กรุงเทพมหานคร : บริษัทสำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | อารง สุทธาศาสน์. 2527. ปฏิบัติการวิจัยทางสังคมศาสตร์.กรุงเทพฯ: เจ้าพระยาการพิมพ์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | อำนวยวิทย์ ชูวงษ์. 2519. ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แพร่วิทยา. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Adams,Gerald R. and Schvaneveldt,Jay D.1991. Understanding Research Methods. New York : Longman. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Anderson,R.L. and Bancroft, T.A. 1952. Statistical Theory in Research. New York : McGraw-Hill book Company,Inc… | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Arkin, Herbert and Colton,Raymond R. 1967. Statistical Methods. New York: Barnes & Noble Inc… | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Babbie,Earl, R.1989. The Practice of Social Research. Belrfong. Ca : Wadsworth Publishing Company. Inc… | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Backstrom,Charles H. And Hursh,Gerald D.1974. Survey Research. Evanston,Min.: Northwestern University Press. | ||
หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล | Dooley, David. 2001. Social Research Methods. Upper Saddle River, New Jersey : Prentice-Hall. Neuman, W. Lawrence.1997. Social Research Methods : Qualitative and Quantitative Approaches. London : Allyn and Bacon. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) สำหรับหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา (ปรับปรุง 2560)
1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการ/วิชาชีพ
1.2 มีการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้แก่การมีวินัย ซื่อสัตย์รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2.1 มีความรูความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยา และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์และศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ หรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทำการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพไดอย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ ๆ ได้
2.3 มีความรูความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชารวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถดำเนินโครงการศึกษาที่สำคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเองและหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
3.3 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มอย่างสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตัวเองในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทำงานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทำงานในอนาคต
4.3 มีความรับผิดชอบตามบทบาทหรือหน้าที่ที่ตนเองรับผิดชอบได้อย่างเหมาะสม
5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงาน ปัญหาทางวิชาการ
หรือปัญหาในชีวิตประจ าวันได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร เพื่อค้นคว้าความรู้ด้วยตนเอง และเผยแพรหรือสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการใน
รูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได