Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาพัฒนศาสตร์
Development Sciene
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS498992
ภาษาไทย
Thai name
สัมมนา 2: ประเด็นปัจจุบันการพัฒนา
ภาษาอังกฤษ
English name
Seminar II: Current Issues of Development
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(2-2-5)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์วิภาวี กฤษณะภูติ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์วิภาวี กฤษณะภูติ
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทรพร วีระนาคินทร์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เป็นรากฐานในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์ และศาสตร์ต่าง ๆ ในสาขาวิชาที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
    • นักศึกษาสามารถพัฒนาโจทย์วิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และถ่ายทอดเพื่อให้เกิดการพัฒนาในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์ได้ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษาเรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับจริยธรรมเกี่ยวกับการการศึกษาและการผลิตผลงานทางวิชาการได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาองค์ความรู้หรือแนวคิดใหม่ ๆ ได้
    • นักศึกษาสามารถออกแบบและพัฒนางานวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้
    • นักศึกษาสามารถวิพากษ์และอภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
    • นักศึกษาสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการผลิตผลงานวิชาการ เผยแพร่ หรือถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการได้
    • นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษาปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
    • นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และเข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม (R3C)
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    หัประเด็นการพัฒนาปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมือง เทคโนโลยี สุขภาพและอื่น ๆ
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Current development issues related to economics, society, culture, politics, technology, health etc.
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Online learning
    • Blended learning
    • Work integrated learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Research-based learning
    • Problem-based learning
    • Case discussion
    • Seminar
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 แนะนำรายวิชา วัตถุประสงค์ และกำหนดหัวข้อสัมมนา 3
    • S2: นักศึกษาสามารถออกแบบและพัฒนางานวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้
    • C1: นักศึกษาปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
    • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และเข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม (R3C)
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.แนะนำรายวิชา/ชี้แจงกระบวนการเรียนการสอน และการส่งงานผ่านระบบ โปรแกรม Google Classroom
    2.สัมมนาผ่าน Google Meet หรือในชั้นเรียน
    3.นักศึกษาและอาจารย์สัมมนาร่วมกัน โดยนักศึกษาแต่ละคนเตรียมประเด็นที่จะนำเสนอมานำเสนอโดยใช้เวลาคนละ 20 นาที และ 10 นาทีสำหรับการซักถามและแสดงความคิดเห็น
    4.สรุปเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    1.เอกสารแผนการสอน, 2.PowerPoint
    2-4 หัวข้อที่ 1
    การบรรยายพิเศษในประเด็นต่าง ๆ ด้านการพัฒนา ครั้งที่ 1
    9
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เป็นรากฐานในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์ และศาสตร์ต่าง ๆ ในสาขาวิชาที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
    • K2: นักศึกษาสามารถพัฒนาโจทย์วิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และถ่ายทอดเพื่อให้เกิดการพัฒนาในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์ได้ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาองค์ความรู้หรือแนวคิดใหม่ ๆ ได้
    • S2: นักศึกษาสามารถออกแบบและพัฒนางานวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้
    • S3: นักศึกษาสามารถวิพากษ์และอภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
    • S4: นักศึกษาสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการผลิตผลงานวิชาการ เผยแพร่ หรือถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการได้
    • S5: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้
    • C1: นักศึกษาปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
    • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และเข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม (R3C)
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.อาจารย์/วิทยากรบรรยายผ่าน Google Meet หรือในชั้นเรียน
    2.นักศึกษาและอาจารย์/วิทยากรสัมมนาร่วมกันในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการบรรยาย และยกตัวอย่างเป็น Case Discussion
    3.นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในประเด็นที่เกี่ยวข้องแต่ละหัวข้อ พร้อมทั้งวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์จากประเด็นที่เกี่ยวข้อง
    4.นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหัวข้อ ผ่านโปรแกรม Google Meet
    5.สรุปเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    1.PowerPoint, 2.Multimedia (YouTube), 3.Case Study, 4.Task 1
    5-7 หัวข้อที่ 2
    การบรรยายพิเศษในประเด็นต่าง ๆ ด้านการพัฒนา ครั้งที่ 2
    9
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เป็นรากฐานในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์ และศาสตร์ต่าง ๆ ในสาขาวิชาที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาองค์ความรู้หรือแนวคิดใหม่ ๆ ได้
    • S2: นักศึกษาสามารถออกแบบและพัฒนางานวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้
    • S3: นักศึกษาสามารถวิพากษ์และอภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
    • S4: นักศึกษาสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการผลิตผลงานวิชาการ เผยแพร่ หรือถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการได้
    • S5: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้
    • C1: นักศึกษาปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
    • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และเข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม (R3C)
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.อาจารย์/วิทยากรบรรยายผ่าน Google Meet หรือในชั้นเรียน
    2.นักศึกษาและอาจารย์/วิทยากรสัมมนาร่วมกันในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการบรรยาย และยกตัวอย่างเป็น Case Discussion
    3.นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในประเด็นที่เกี่ยวข้องแต่ละหัวข้อ พร้อมทั้งวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์จากประเด็นที่เกี่ยวข้อง
    4.นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหัวข้อ ผ่านโปรแกรม Google Meet
    5.สรุปเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    1.PowerPoint, 2.Multimedia (YouTube), 3.Case Study, 4.Task 2
    8-10 หัวข้อที่ 3
    การบรรยายพิเศษในประเด็นต่าง ๆ ด้านการพัฒนา ครั้งที่ 3
    9
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เป็นรากฐานในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์ และศาสตร์ต่าง ๆ ในสาขาวิชาที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาองค์ความรู้หรือแนวคิดใหม่ ๆ ได้
    • S2: นักศึกษาสามารถออกแบบและพัฒนางานวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้
    • S3: นักศึกษาสามารถวิพากษ์และอภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
    • S4: นักศึกษาสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการผลิตผลงานวิชาการ เผยแพร่ หรือถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการได้
    • S5: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้
    • C1: นักศึกษาปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
    • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และเข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม (R3C)
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.อาจารย์/วิทยากรบรรยายผ่าน Google Meet หรือในชั้นเรียน
    2.นักศึกษาและอาจารย์/วิทยากรสัมมนาร่วมกันในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการบรรยาย และยกตัวอย่างเป็น Case Discussion
    3.นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในประเด็นที่เกี่ยวข้องแต่ละหัวข้อ พร้อมทั้งวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์จากประเด็นที่เกี่ยวข้อง
    4.นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหัวข้อ ผ่านโปรแกรม Google Meet
    5.สรุปเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    1.PowerPoint, 2.Multimedia (YouTube), 3.Case Study, 4.Task 3
    11-12 หัวข้อที่ 4
    สัมมนาเกี่ยวกับหัวข้อวิจัยของนักศึกษา ครั้งที่ 1
    6
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เป็นรากฐานในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์ และศาสตร์ต่าง ๆ ในสาขาวิชาที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
    • K2: นักศึกษาสามารถพัฒนาโจทย์วิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และถ่ายทอดเพื่อให้เกิดการพัฒนาในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์ได้ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาองค์ความรู้หรือแนวคิดใหม่ ๆ ได้
    • S2: นักศึกษาสามารถออกแบบและพัฒนางานวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้
    • S3: นักศึกษาสามารถวิพากษ์และอภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
    • S4: นักศึกษาสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการผลิตผลงานวิชาการ เผยแพร่ หรือถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการได้
    • S5: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้
    • C1: นักศึกษาปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
    • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และเข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม (R3C)
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.อาจารย์นำเข้าสู่การสัมมนาผ่าน Google Meet หรือในชั้นเรียน
    2.นักศึกษานำเสนอหัวข้อวิจัยที่ได้ศึกษามา
    3.อาจารย์และนักศึกษาร่วมกันแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นตามหลักวิชาการในประเด็นที่เกี่ยวข้อง
    4.สรุปเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    1.PowerPoint, 2.รายงานหรือบทความที่นักศึกษาเตรียมมา
    13-14 หัวข้อที่ 5
    สัมมนาเกี่ยวกับหัวข้อวิจัยของนักศึกษา ครั้งที่ 2
    6
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เป็นรากฐานในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์ และศาสตร์ต่าง ๆ ในสาขาวิชาที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
    • K2: นักศึกษาสามารถพัฒนาโจทย์วิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และถ่ายทอดเพื่อให้เกิดการพัฒนาในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์ได้ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาองค์ความรู้หรือแนวคิดใหม่ ๆ ได้
    • S2: นักศึกษาสามารถออกแบบและพัฒนางานวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้
    • S3: นักศึกษาสามารถวิพากษ์และอภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
    • S4: นักศึกษาสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการผลิตผลงานวิชาการ เผยแพร่ หรือถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการได้
    • S5: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้
    • C1: นักศึกษาปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
    • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และเข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม (R3C)
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.อาจารย์นำเข้าสู่การสัมมนาผ่าน Google Meet หรือในชั้นเรียน
    2.นักศึกษานำเสนอหัวข้อวิจัยที่ได้ศึกษามา
    3.อาจารย์และนักศึกษาร่วมกันแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นตามหลักวิชาการในประเด็นที่เกี่ยวข้อง
    4.สรุปเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    1.PowerPoint, 2.รายงานหรือบทความที่นักศึกษาเตรียมมา
    15 หัวข้อที่ 6
    รายงานความก้าวหน้าแผนการวิจัยสำหรับดุษฎีนิพนธ์
    3
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เป็นรากฐานในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์ และศาสตร์ต่าง ๆ ในสาขาวิชาที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
    • K2: นักศึกษาสามารถพัฒนาโจทย์วิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และถ่ายทอดเพื่อให้เกิดการพัฒนาในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์ได้ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาองค์ความรู้หรือแนวคิดใหม่ ๆ ได้
    • S2: นักศึกษาสามารถออกแบบและพัฒนางานวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้
    • S3: นักศึกษาสามารถวิพากษ์และอภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
    • S4: นักศึกษาสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการผลิตผลงานวิชาการ เผยแพร่ หรือถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการได้
    • S5: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้
    • C1: นักศึกษาปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
    • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และเข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม (R3C)
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.อาจารย์นำเข้าสู่การสัมมนาผ่าน Google Meet หรือในชั้นเรียน
    2.นักศึกษานำเสนอความก้าวหน้าของแผนการวิจัยสำหรับดุษฎีนิพนธ์
    3.อาจารย์และนักศึกษาร่วมกันแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นตามหลักวิชาการในประเด็นที่เกี่ยวข้อง
    4.สรุปเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    1.PowerPoint, 2.ความก้าวหน้าของแผนการวิจัยสำหรับดุษฎีนิพนธ์
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การเข้าร่วมสัมมนา และการส่งรายงานการสัมมนาในแต่ละครั้ง
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เป็นรากฐานในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์ และศาสตร์ต่าง ๆ ในสาขาวิชาที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาองค์ความรู้หรือแนวคิดใหม่ ๆ ได้
    • S2: นักศึกษาสามารถออกแบบและพัฒนางานวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้
    • S3: นักศึกษาสามารถวิพากษ์และอภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
    • S4: นักศึกษาสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการผลิตผลงานวิชาการ เผยแพร่ หรือถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการได้
    • S5: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้
    70 ตลอดภาคการศึกษา
    เค้าโครงความก้าวหน้าของแผนการวิจัยสำหรับ ดุษฎีนิพนธ์
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เป็นรากฐานในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์ และศาสตร์ต่าง ๆ ในสาขาวิชาที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
    • K2: นักศึกษาสามารถพัฒนาโจทย์วิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และถ่ายทอดเพื่อให้เกิดการพัฒนาในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์ได้ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาพัฒนศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาองค์ความรู้หรือแนวคิดใหม่ ๆ ได้
    • S2: นักศึกษาสามารถออกแบบและพัฒนางานวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้
    • S3: นักศึกษาสามารถวิพากษ์และอภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
    • S4: นักศึกษาสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการผลิตผลงานวิชาการ เผยแพร่ หรือถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการได้
    • S5: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้
    30 สัปดาห์ที่ 11-15
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา กุสตาโฟ เอสติวา (แปลโดยวิภาวรรณ ตุวยานนท์ และคณะ) . (2535). “การพัฒนา” ใน Sarch, W., 1992. The Development Dictionary: A Guide to Knowledge as Power. London; Zed Book แปลโดย ฉันทนา บรรพศิริโชติ และสุริชัย หวันแก้ว (บรรณาธิการแปล) ศัพท์การพัฒนา: คู่มือความรู้สู่อำนาจ. กรุงเทพฯ: โครงการหนังสือเล่ม สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา Pieterse, Jan Nederveen, (2001). Development Theory: Deconstructions/Reconstructions. London; Sage Publications.
    หนังสือ หรือ ตำรา Polanyi, Karl. (2001) (first published in 1957). The Great Transformation: The Political and Economic Origins of Our Time. Boston, Massachusetts: Beacon Press.
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2566)

    1. ความรู้
    1.1 เข้าใจปรัชญาการแสวงหาความรู้ สามารถเชื่อมโยงกับทฤษฎีสังคมศาสตร์สมัยใหม่กับปรากฏการณ์หรือปัญหาการพัฒนาปัจจุบัน
    1.2 เข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีระบบ เครือข่ายสังคม ทฤษฎีการเปลี่ยนผ่าน (transformative theories) ในการสร้างความรู้ใหม่ เพื่อนำไปใช้ในการแก้ปัญหาการพัฒนา
    2. ทักษะ
    2.1 มีทักษะในการสร้างโจทย์คำถามการวิจัย ในปัญหาการพัฒนาที่ซับซ้อน ตอบสนองต่อความต้องการหรือปัญหาของผู้มีส่วนได้เสีย
    2.2 มีทักษะในการใช้เครื่องมือการวิจัยที่หลากหลาย ทั้งเครื่องมือการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ และสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อสร้างความรู้ใหม่สำหรับแก้ปัญหาการพัฒนา
    2.3 มีทักษะและความสามารถใช้เครื่องมือสร้างการเปลี่ยนผ่าน อย่างเช่น การสร้างนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม การสร้างความรู้ร่วม (co-production of knowledge) การจัดการปกครองการพัฒนาแบบร่วมมือ (collaborative governance) และการเรียนรู้เสวนา (shared learning dialogues)
    3. จริยธรรม
    3.1 สามารถสังเคราะห์ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมต่อการพัฒนา เช่นปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาความเหลื่อมล้ำ ปัญหาสังคมสูงวัย ฯลฯ
    3.2 สามารถวินิจฉัยและตัดสินในเชิงจริยธรรม โดยการยึดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเป็นธรรม และความเท่าเทียมกัน ควบคู่ไปกับการวินิจฉัยหรือตัดสินผลการพัฒนาโดยยึดหลักทางเทคนิควิชาการ
    4. ลักษณะบุคคล
    4.1 ใช้และเผยแพร่ข้อมูลด้านการพัฒนา โดยยึดมั่นเป้าหมาย ค่านิยมขององค์กรเป็นหลักในการทำงาน และทำหน้าที่อย่างเต็มความสามารถให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
    4.2 มีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยยึดประโยชน์ของส่วนรวมเหนือประโยชน์ส่วนตน
    4.3 เป็นผู้นำริเริ่มการเปลี่ยนแปลงที่มุ่งสู่ความยั่งยืน