รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
1.ระบบเสียงในภาษาไทย 1.1 หน่วยเสียง 1.2 การวิเคราะห์ระบบเสียง |
3 |
|
1. VDO conference แนะนำรายวิชา 2. บรรยายผ่าน VDO conference 3. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน 4. เอกสารประกอบการสอน (PDF) |
|
2 |
1. ระบบคำในภาษาไทย (ต่อ) 1.3 ประเภทของคำ 1.4 หน้าที่ของคำ |
3 |
|
1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน ผ่านระบบ e-learning 2. VDO conference 3. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน 4. คลิปวิดีโอจาก YouTube 5. เอกสารประกอบการสอน (PDF) 6. ฝึกวิเคราะห์ประเภทและหน้าที่ของคำ |
|
3 |
2. ทฤษฎีวิเคราะห์ภาษา 2.1 ทฤษฎีไวยากรณ์ดั้งเดิม |
3 |
|
1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน ผ่านระบบ e-learning 2. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน 3. เอกสารประกอบการสอน (PDF) 4. อภิปรายทฤษฎีวิเคราะห์ภาษาตามแนวทฤษฎีไวยากรณ์ดั้งเดิม 5. ทดสอบออนไลน์ ครั้งที่ 1 |
|
4 | 2.2 ทฤษฎีไวยากรณ์โครงสร้าง | 3 |
|
1. กิจกรรมทบทวนบทเรียนผ่านระบบ e-;earning 2. คลิปวิดิโอบรรยายการสอน 3. เอกสารประกอบการสอน (PDF) 4. อภิปรายทฤษฎีวิเคราะห์ภาษาตามแนวทฤษฎีไวยากรณ์โครงสร้าง |
|
5 | 2.3 ทฤษฎีไวยากรณ์ปริวรรต | 3 |
|
1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน ผ่านระบบ e-learning 2. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน 3. เอกสารประกอบการสอน (PDF) 4. อภิปรายทฤษฎีวิเคราะห์ภาษาตามแนวทฤษฎีไวยากรณ์ปริวรรต 5. ทดสอบออนไลน์ ครั้งที่ 2 |
|
6 |
3. เปรียบเทียบทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษา 3.1 ระดับคำ 3.2 ระดับประโยค |
3 |
|
1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน ผ่านระบบ e-learning 2. VDO conference 3. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน 4. คลิปวิดีโอจาก YouTube 5. เอกสารประกอบการสอน (PDF) 6. เปรียบเทียบทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาระดับคำและระดับประโยค |
|
7-8 | 4. นำเสนอผลการค้นคว้างานวิจัยที่ใช้ทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาในประเด็นตามความสนใจ | 6 |
|
1. VDO conference 2. นำเสนอผลการค้นคว้าผ่าน VDO conference 3. อภิปรายผลงานวิจัยผ่าน VDO conference 4. สรุปผลการเรียนรู้และประเมินผลระหว่างเรียน |
|
9 |
5. ทฤษฎีการวิเคราะห์ความหมาย 5.1 อรรถศาสตร์และอรรถศาสตร์ปริชาน |
3 |
|
1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน ผ่านระบบ e-learning 2. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน 3. เอกสารประกอบการสอน (PDF) 4. อภิปรายทฤษฎีวิเคราะห์ความหมายตามแนวอรรถศาสตร์และอรรถศาสตร์ปริชาน 5. ทดสอบออนไลน์ ครั้งที่ 3 |
|
10 |
5.2 ทฤษฎีวิเคราะห์องค์ประกอบ 5.3 ทฤษฎีวิเคราะห์วงความหมาย |
3 |
|
1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน ผ่านระบบ e-learning 2. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน 3. เอกสารประกอบการสอน (PDF) 4. อภิปรายทฤษฎีวิเคราะห์องค์ประกอบตามแนวทฤษฎีวงความหมาย |
|
11 |
6. ทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาระดับข้อความ 6.1 โครงสร้างข้อความประเภทต่างๆ 6.2 การเชื่อมโยงความ |
3 |
|
1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน ผ่านระบบ e-learning 2. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน 3. เอกสารประกอบการสอน (PDF) 4. อภิปรายทฤษฎีการวิเคราะห์องค์ภาษาระดับข้อความ |
|
12 | 7. ทฤษฎีวาทกรรมวิเคราะห์ | 3 |
|
1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน ผ่านระบบ e-learning 2. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน 3. เอกสารประกอบการสอน (PDF) 4. อภิปรายทฤษฎีวาทกรรมวิเคราะห์ |
|
13 | 8. วัจนปฏิบัติศาสตร์ | 3 |
|
1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน ผ่านระบบ e-learning 2. VDO conference 3. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน 4. เอกสารประกอบการสอน (PDF) 5. อภิปรายทฤษฎีวัจนปฏิบัติศาสตร์ 6. ทดสอบออนไลน์ ครั้งที่ 4 |
|
14-15 |
9. นำเสนอผลการค้นคว้าเกี่ยวกับการวิเคราะห์ภาษาไทยในระดับต่างๆ ตามความสนใจ 9.1 ข้อความ 9.2 ระดับสนทนา |
6 |
|
1. VDO conference 2. นักศึกษานำเสนอผลการค้นคว้าผ่าน VDO cobference 3. นำเสนอและอภิปรายหัวข้อวิจัยตามความสนใจเพื่อพัฒนาเป็นหัวข้อวิทยานิพนธ์ 4. สรุปผลการเรียนรู้และประเมินผลหลังเรียน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
1. กิจกรรมและทดสอบย่อย |
|
20 | สัปดาห์ที่ 3, 5, 9, 13 |
2. สอบกลางภาค |
|
20 | ตามปฏิทินของมหาวิทนาลัย |
3. สอบปลายภาค |
|
20 | ตามปฏิทินของมหาวิทนาลัย |
4. การนำสนอผลการค้นคว้าผ่าน VDO conference |
|
30 | สัปดาห์ที่ 14 และ 15 |
5. การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนออนไลน์ |
|
10 | ทุกสัปดาห์ที่มี VDO conference |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | ปราณี กุลละวณิชย์. (2545). แบบลักษณ์ภาษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
พิณทิพย์ ทวยเจริญ. (2543). ภาพรวมของการศึกษาภาษาและภาษาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ราชบัณฑิตยสถาน. (2553). พจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์). กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สถาบันภาษาไทย. (2552). บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม 3 : ชนิดของคำ วลี ประโยคและสัมพันธสาร. กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาไทย สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สุจริตลักษณ์ ดีผดุง. (2541). ทฤษฎีวากยสัมพันธ์. นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2546). ทฤษฎีไวยากรณ์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อุดม วโรตม์สิกขดิตถ์. (2542). ไว |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
อุดม วโรตม์สิกขดิตถ์. (2542). ไวยากรณ์ไทยในภาษาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย รามคำแหง. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Carniie, A. (2013). Syntax: A Generative Introduction (3rd ed.). London: Wiley-Blackwell. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Halliday, M.A.K., & Matthiessen, C.M.I.M. (2004). An introduction to functional grammar. Third revised edition of M.A.K. Halliday, An Introduction to Functional Grammar. London: Hodder-Arnold. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Halliday, M.A.K., & Ruquiya H. (1976). Cohesion in English. Singapore: Longman Singapore Publishers (Pte) Ltd. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Leech, G. N. (1983). Principles of pragmatics. London: Longman. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Longacre, R. E. (1983). The grammar of discourse. New York: Plenum Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Lyons, J. (1977). Semantics 2. Great Britain: Cambridge University Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Patpong, P. (2006). A systemic functional interpretation of Thai grammar: An explosion of Thai narrative discourse. PhD dissertation, Macquarie University. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Saeed, John I. (2012). Semantics (3rd ed.). Singapore: Wiley-Blackwell | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Schiffrin, D. (1994). Approaches to discourse. Cambridge, MA & Oxford: Blackwell. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Thompson, G. (2004). Introducing Functional Grammar (2nd ed.). London: Arnold Publicati |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 มีภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข. ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชาภาษาไทยทั้งภาษาศาสตร์ภาษาไทยและวรรณกรรมไทย และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาภาษาไทย รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาภาษาไทย และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยในหัวข้อที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้