รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
-แนะนำ และตกลง การเรียนการสอน -ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมกับทฤษฎีการวิจารณ์เบื้องต้น -การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต |
6 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานผ่านออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน (2) สอนภาคทฤษฏีโดยใช้ VDO clips (Clip 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณกรรมกับทฤษฎีการวิจารณ์ (3) นักศึกษาอภิปราย ร่วมกันใน หัวข้อที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมกับทฤษฎีการวิจารณ์ ข้อดีของการมีทฤษฎีการวิจารณ์ (4) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบ การสอนตอนที่ 1 และสรุปความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับทฤษฎีการวิจารณ์วรรณกรรมไทย ส่งงานผ่านระบบ KKU e-Learning (5) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับทำไมต้องมีทฤษฎีการวิจารณ์วรรณกรรมไทย ประโยชน์ของทฤษฎีวรรณกรรมวิจารณ์ |
|
3-5 |
การวิเคราะห์ วิจารณ์ด้วยทฤษฎีตะวันออก - ตำราประพันธศาสตร์ของไทย - ตัวอย่างวิทยานิพนธ์ที่ใช้การวิจารณ์ด้วยทฤษฎีตะวันออก |
9 |
|
(1) สอนภาคทฤษฏีโดยใช้ VDO clips (Clip 2 การวิเคราะห์วิจารณ์ด้วยทฤษฎีตะวันออก (2) นักศึกษาอภิปรายร่วมกันใน หัวข้อที่ 2 การวิจารณ์ด้วยทฤษฎีตะวันออก โดยใช้ตำราประพันธศาสตร์ของไทยประกอบการอภิปราย (3) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบ การสอนตอนที่ 2 และสรุปความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับทฤษฎีการวิจารณ์วรรณกรรมตะวันออก (4) นักศึกษานำเสนอผลงานการศึกษาค้นคว้าวิทยานิพนธ์ที่ใช้การวิจารณ์ด้วยทฤษฎีตะวันออก (5) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม เพื่ออภิปรายแนวทางการใช้ทฤษฎีตะวันออกในการวิจารณ์วรรณกรรม |
|
6-8 |
การวิเคราะห์ วิจารณ์ด้วยทฤษฎีตะวันออก : ผู้สร้าง ตัวบท ผู้เสพ |
9 |
|
(1) สอนภาคทฤษฏีโดยใช้ VDO clips (Clip 3 การวิเคราะห์วิจารณ์ด้วยทฤษฎีตะวันออก : ผู้สร้าง ตัวบท ผู้เสพ (2) นักศึกษาอภิปรายร่วมกันใน หัวข้อที่ 3 การวิจารณ์ด้วยทฤษฎีตะวันออก : ผู้สร้าง ตัวบท ผู้เสพ (3) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบ การสอนตอนที่ 3 และสรุปความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีการวิจารณ์วรรณกรรมตะวันออก (4) นักศึกษานำเสนอผลงานการศึกษาค้นคว้าการวิจารณ์ด้วยทฤษฎีตะวันออกในวรรณกรรมไทย (5) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม เพื่ออภิปรายแนวทางการใช้ทฤษฎีตะวันออกในการวิจารณ์วรรณกรรมไทยร่วมกัน |
|
9 |
ทฤษฎีตะวันตกกับการศึกษาวรรณกรรมทฤษฎีมาร์กซิสต์ -ประวัติความเป็นมา -การวิจารณ์วรรณกรรม -ตัวอย่างและการวิเคราะห์ |
3 |
|
(1) สอนภาคทฤษฏีโดยใช้ VDO clips (ทฤษฎีตะวันตกกับการศึกษาวรรณกรรมทฤษฎีมาร์กซิกส์) (2) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบ การศึกษาวรรณกรรมทฤษฎีมาร์กซิสต์ (3) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม เพื่อนักศึกษาอภิปราย แนวทางการใช้ทฤษฎีมาร์กซิสต์ในการวิจารณ์วรรณกรรม (4) ฝึกวิจารณ์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีมาร์กซิสต์ |
|
10-11 |
ทฤษฎีสตรีนิยม,หลังสตรีนิยม,หลังสมัยใหม่สตรีนิยม -ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการ -การวิจารณ์วรรณกรรม -ตัวอย่างและการวิเคราะห์ |
6 |
|
(1) สอนภาคทฤษฏีโดยใช้ VDO clips (ทฤษฎีสตรีนิยม หลังสตรีนิยม หลังสมัยใหม่สตรีนิยม) (2) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบ การวิจารณ์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีสตรีนิยม หลังสตรีนิยม หลังสมัยใหม่สตรีนิยม (3) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม เพื่อนักศึกษาอภิปราย แนวทางการใช้ทฤษฎีสตรีนิยม หลังสตรีนิยม หลังสมัยใหม่สตรีนิยม ในการวิจารณ์วรรณกรรม (4) ฝึกวิจารณ์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีสตรีนิยม หลังสตรีนิยม หลังสมัยใหม่สตรีนิยม |
|
12-13 |
ทฤษฎีโครงสร้างนิยมและหลังโครงสร้างนิยม -ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการ -การวิจารณ์วรรณกรรม -ตัวอย่างและการวิเคราะห์ |
6 |
|
(1) สอนภาคทฤษฏีโดยใช้ VDO clips (ทฤษฎีโครงสร้างนิยมและหลังโครงสร้างนิยม) (2) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบ การวิจารณ์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีโครงสร้างนิยมและหลังโครงสร้างนิยม (3) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม เพื่อนักศึกษาอภิปราย แนวทางการใช้ทฤษฎีโครงสร้างนิยมและหลังโครงสร้างนิยมในการวิจารณ์วรรณกรรม (4) ฝึกวิจารณ์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีโครงสร้างนิยมและหลังโครงสร้างนิยม |
|
14-15 |
ทฤษฎีสมัยใหม่และหลังสมัยใหม่ -ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการ -การวิจารณ์วรรณกรรมที่เป็นประเด็นปัจจุบัน -ตัวอย่างและการวิเคราะห์ |
6 |
|
(1) สอนภาคทฤษฏีโดยใช้ VDO clips (ทฤษฎีสมัยใหม่และหลังสมัยใหม่) (2) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบ การวิจารณ์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีสมัยใหม่และหลังสมัยใหม่ (3) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม เพื่อนักศึกษาอภิปราย แนวทางการใช้ทฤษฎีสมัยใหม่และหลังสมัยใหม่ (4) ฝึกวิจารณ์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีสมัยใหม่และหลังสมัยใหม่ |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
แบบฝึกหัดและการอภิปราย |
|
30 | |
รายงานและบทความวิชาการ |
|
30 | สัปดาห์ที่ 8 และ 15 |
สอบกลางภาค |
|
20 |
ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย |
สอบปลายภาค |
|
20 |
ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | อรทัย เพียยุระ. (2551). วรรณกรรมวิจารณ์. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ชุมนุมตำรากลอน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ. (2519). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | บทกวีนิพนธ์ของพระศรีมโหสถ. (2504). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ไพฑูรย์ ดอกบัวแก้ว. (2541). คัมภีร์กาพยสารวิลาสินี ตำราแต่งกาพย์ของไทย. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | แย้ม ประพัฒน์ทอง (ผู้แปล). (2512). พระคัมภีร์สุโพธาลังการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. พระนคร : รุ่งเรืองธรรม, | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | วาคฺภฏ. (2485). อลังการศาสตร์. แปลโดย ป.ส.ศาสตรี. พระนคร : ม.ป.ท. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | แสง มนวิทูร. (2511). คัมภีร์นาฏยศาสตร์. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
กุสุมา รักษมณี. (2530). การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. รายงานการวิจัยสำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ กลุ่มวิชาวรรณคดี สาขาปรัชญา. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ดวงมน จิตร์จำนง. (2540). คุณค่าและลักษณะเด่นของวรรณคดีไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ดวงมน จิตร์จำนง, รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ และ ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. (เมษายน, 2532). ทอไหมในสายน้ำ: 200 ปีวรรณดคี วิจารณ์ ไทย. ปาจารยสาร ฉบับพิเศษ. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ดวงมน จิตร์จำนง. (2555). การวิจารณ์บนเส้นทางวรรณคดีศึกษา. กรุงเทพฯ: อินทนิล. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ธัญญา สังขพันธานนท์ (2559). แว่นวรรณคดีทฤษฎีร่วมสมัย. ปทุมธานี : สำนักพิมพ์นาคร. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ธเนศ เวศร์ภาดา. (2543). ตำราประพันธศาสตร์ไทย : แนวคิดและความสัมพันธ์กับขนบวรรณศิลป์ไทย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา. (2534). “ความรู้ทางประพันธศาสตร์” ใน วรรณวิทยา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. (2532). ภาษาไทย 7 วรรณคดีวิจารณ์สำหรับครู. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: สุโขทัย ธรรมาธิราช. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุภาพรรณ ณ บางช้าง. (2526). ประวัติวรรณคดีบาลีในอินเดียและลังกา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สุรเดช โชติอุดมพันธ์. (2559). ทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์ตะวันตก ในคริสต์ศตรวรรษที่ 20. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Andermahr, Lovell & Wolkowitz. (2000). A Glossary of Feminist Theory. London : Arnold. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Arries, P. & Bejin, A. (1987). Western Sexuality : Practice and precept in Past and Present Times. Oxford : Basil Blackwell. Bishop. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Gamble, S. (ed.) (1999). The icon critical dictionary of Feminism and Postfeminism. New South Wales : Allen & Unwin Pty. Ltd. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Glover, D. & Kaplan, C. (2000). Genders. London and New York : Routledge. Harriertt, G. (ed.) 1993. The Sexual Imagination from Acker to Zola. A Feminist Companion. London : Jonathan Cape. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Harrison, R. (1997). The “good”, the “bad” and the pregnant: why the Thai prostitute as Literary heroine can’t be seen to give birth. In : Viradaa Somswasdi & Sally Theobald. Women, Gender relations and development in Thai society. Chiangmai : Ming meung nawarat. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Harrison, R. (2000a). Looking Forward, Looking Back: Towards a Comparative Study of the Interaction Between the Traditional and the Modern in Contemporary Southeast Asia. Tengara : Journal of Southeast Asian Literature ; 42 : 19-47. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Harrison, R. (2000b). The Disruption of Female Desire and the Thai Literary Tradition of Eroticism, Religion and Aesthetics. Tengara: Journal of Southeast Asian Literature ; 41 : 88-125. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Harrison, R. (2002). ‘A Hundred Loves’, ‘A Thousand Lovers’: Portrayals of Sexuality in the Work of Thidaa Bunnaak. Journal of Southeast Asian Studies : 451-470. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Harrison, R. (2004). Facing Demon: Sida Marries Totsakan in Sidaoreuang’s Modern Thai Reinventions of the Epic Ramayana (Ramakien). In : Judith Labarthe (dir.). Formes Modernes de la poesie epique. Bruxelles: P.I.E.-Peter Lang. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Human Rights Watch. (2000). Owed Justice : Thai Women trafficked into debt Bondage in Japan. USA. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Humm, M. (1994). A Reader’s Guide to Contemporary Feminist Literary Criticism. Herfordshire : Harvester Wheatsheaf. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Humm, M. (1999). The Dictionary of Feminist Theory. Essex : Prentice Hall. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Jackson, P. A. (1995). Dear Uncle Go = Sawatdi khrap `A Ko Paknam: male homosexuality in Thailand. Bangkok: Bua Luang Books. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Jackson, P. A., Cook, N. M. (1999). Genders & sexualities in modern Thailand. Chiang Mai : Silkworm Books. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Jackson, P. A., Sullivan, G. (1999). Lady boys, tom boys, rent boys : male and female homosexualities in contemporary Thailand. New York : Harrington Park Press. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Kepner, S. F. (1996). The Lioness in bloom : modern Thai fiction about women. Berkeley: University of California Press. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Khin Thitsa. (1990). Providence and prostitution: women in Buddhist Thailand. London : Change International Reports. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Magezis, J. (1996). Women’s Studies. London : Hodder Headline. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Manas Chitakasem. (1995). Thai Literary Traditions. Bangkok : Chulalongkorn University Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Merriam-Webster, Inc. (1984). Webster's ninth new collegiate dictionary. Springfield, Mass. : Merriam- Webster. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Mills, J. (1992). Bloomsbury Guide to Erotic Literature. London : Bloomsbury Publishing. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Mills, M. B. (1995). Attack of the Widow Ghosts : Gender, Death, and Modernity in Northeast Thailand. In: A.Ong and M. G. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Peletz (eds.) Bewitching women, pious men. Gender and body politics in Southeast Asia. Berkeley, Los Angeles and London : University of California Press. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Moi, T. (1995). Sexual/Texual Politics : Feminist literary theory. London and New York : Routledge. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Peck, J. and Coyle, M. (1993). Literary Terms and Criticism. London : The Macmillan Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
R., Robinson, L. S. (1998). Night market : sexual cultures and the Thai economic miracle. London : Routledge. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Van Esterik, Penny. (2000). Materializing Thailand. Oxford : Berg | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Watkins, R. and Rodriguez. (1999). Introducing Feminism. Cambridge : Icon Books. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 มีภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข. ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชาภาษาไทยทั้งภาษาศาสตร์ภาษาไทยและวรรณกรรมไทย และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาภาษาไทย รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาภาษาไทย และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยในหัวข้อที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้