รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
-ชี้แจงรายละเอียดวิชาและการเรียนการสอน -ความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา หน้าที่ของภาษา ลักษณะของภาษา -ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาระดับข้อความ -การนิยามความหมายของ Discourse |
6 |
|
-คลิป ชี้แจงรายวิชา -คลิป บรรยาย ความรู้ความเข้าใจหน้าที่ของภาษา ลักษณะภาษา -สอนผ่าน google meet ในสัปดาห์ที่ 2 หัวข้อ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาระดับข้อความ การนิยามความหมาย QUIZ ในระบบ e-learning 20 ข้อ |
|
3 | การจำแนกข้อความประเภทต่าง ตามเกณฑ์ของ Longacre, 1983. | 3 |
|
สอนผ่าน google meet ในสัปดาห์ที่ 3 หัวข้อ การจำแนกข้อความประเภทต่างๆ -แบบฝึกหัดการแยกประเภทของข้อความ |
|
4-5 | การวิเคราะห์โครงสร้างปริจเฉทประเภทต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ นวนิยาย เรื่องสั้น คอลัมน์ข่าว รายการโทรทัศน์ สารคดี ฯลฯ เป็นต้น. | 6 |
|
สอนผ่าน google meet ในสัปดาห์ที่ 4 หัวข้อ การวิเคราะห์โครงสร้างปริจเฉทประเภทต่างๆ - นักศึกษานำเสนอการวิเคราะห์โครงสร้างปริจเฉทต่างๆ ที่มอบหมาย ผ่าน googel meet ในสัปดาห์ที่5 ประเมินจากการนำเสนองานที่รับมอบหมาย |
|
6-7 | การวิเคราะห์การเชื่อมโยงความ ลักษณะการเชื่อมโยงความ หน่วยในการเชื่อมโยงความในภาษาไทย การเชื่อมโยงความในปริจเฉทประเภทต่างๆ | 6 |
|
สอนผ่าน google meet ในสัปดาห์ที่ 6 หัวข้อ การวิเคราะห์การเชื่อมโยงปริจเฉทประเภทต่างๆ - นักศึกษานำเสนอการวิเคราะห์การเชื่อมโยงความปริจเฉทต่างๆ ที่มอบหมาย ผ่าน googel meet ในสัปดาห์ทึ่7 ประเมินจากการนำเสนองานที่รับมอบหมาย |
|
8-9 | วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ หลักการและแนวคิด / การศึกษาวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามมุมมอง ด้านต่างๆ เช่น นิเทศศาสตร์ สังคมศาสตร์และภาษาศาสตร์. | 6 |
|
สอนผ่าน google meet ในสัปดาห์ที่ 8 หัวข้อ หลักการและแนวคิด / การศึกษาวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามมุมมอง ด้านต่างๆ เช่น นิเทศศาสตร์ สังคมศาสตร์และภาษาศาสตร์. - นักศึกษานำเสนอวิทยานิพนธ์ที่ใช้กรอบแนวคิดวาทกรรมวิเคราะห์ ผ่าน googel meet ในสัปดาห์ทึ่9 -ประเมินจากการนำเสนองานที่รับมอบหมาย |
|
10 | การวิเคราะห์วิถีปฏิบัติทางวาทกรรม กระบวนการผลิต กระจายตัวบท การรับตัวบทและ การตีความ โดยใช้กรอบ SPEAKING และกรอบองค์ประกอบในการสื่อสาร | 3 |
|
-วีดีโอคลิป บรรยาย เรื่องการวิเคราะห์วิถีปฏิบติทางวาทกรรม ผู้เรียนเข้าผ่านระบบ kku e-learning -ประเมินจาก Quiz 10 ข้อ ในระบบ kku e-learning |
|
11-12 | กลวิธีทางภาษาในการวิเคราะห์ตัวบทเช่น การเลือกใช้คำ การใช้คำเรียก การใช้อุปลักษณ์ การใช้มูลบท การใช้คำถามเชิงวาทศิลป์ การใช้สหบท เป็นต้น. | 6 |
|
สอนผ่าน google meet ในสัปดาห์ที่ 11 หัวข้อ การใช้กลวิธีทางภาษาในการวิเคราะห์ตัวบท - นักศึกษานำเสนอการวิเคราะห์ตัวบทผ่านกลวิธีทางภาษาต่างๆ ที่มอบหมาย ผ่าน googel meet ในสัปดาห์ทึ่12 ประเมินจากการนำเสนองานที่รับมอบหมาย |
|
13 | วิถีปฏิบัติทางสังคมและวัฒนธรรมในการอธิบายวาทกรรมประเภทต่างๆ | 3 |
|
บรรยายผ่านวีดีโอคลิป ในหัวข้อปรากฏการณ์ทางสังคม วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ นโยบายภาครัฐ ในการเชื่อมโยงการผลิตตัวบทประเภทต่างๆ | |
14-15 | การวิเคราะห์วาทกรรมประเภทต่างๆอันนำไปสู่การค้นหาชุดความหมาย เช่น อุดมการณ์ อัตลักษณ์ ชุดความหมาย. | 6 |
|
สอนผ่าน google meet ในสัปดาห์ที่ 14 โดยนักศึกษานำเสนอหัวข้อวาทกรรมที่ตนสนใจ สอนผ่าน googel meet ในสัปดาห์ที่ 15 นักศึกษานำเสนอผลกการวิเคราะห์งานที่ตนสนใจ ประเมินผลจากการนำเสนอ |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
แบบฝึกหัด และ Quiz |
|
30 | ในสัปดห์ที่ 2, 3, 10 |
การนำเสนองานที่รับมอบหมาย |
|
70 |
ในสัปดาห์ที่ 5, 7, 9, 12, 15. |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | เอกสารประกอบการสอน | อาจารย์ภายในคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา | กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ และ ธีรนุช โชคสุควณิช. 2551. วัจนปฏิบัติศาสตร์. กรุงเทพมหานคร:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | คชาธิป พาณิชตระกูล. 2556. ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ว่าชายรักชายในหนังสือพิมพ์ | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | รายวันภาษาไทย ปี พ.ศ. 2555: การศึกษาวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ทินวัฒน์ สร้อยกุดเรือ. 2558. ภาษากับอัตลักษณ์เมียฝรั่งในวาทกรรมสาธารณะ. ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ธีระ บุษบกแก้ว. 2553. กลวิธีทางภาษากับการนำเสนออัตลักษณ์ของตนเองโดยกลุ่มเกย์ออนไลน์. วารสาร ภาษาและวรรณคดีไทย. 27(12): 1-36. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. 2554. วาทกรรมโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในสื่อภาษาไทยระหว่าง พ.ศ.2551-2553. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. 2553. อุดมการณ์ความเป็นชายในวาทกรรมโฆษณาสินค้าและบริการสำหรับ ผู้ชายใน นิตยสารผู้ชาย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ศิริพร ภักดีผาสุข. 2553. โครงการวาทกรรม “ความเป็นผู้หญิง” ในนิตยสารสุขภาพและความงามภาษาไทย. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | สาวิตรี คทวณิช. 2549. “วาทกรรมศึกษาเพื่อการวิจัยทางสังคม: กรอบทฤษฎีเพื่อการวิจัยเชิงประจักษ์.” ใน กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ และ จันทิมา เอียมานนท์. (บรรณาธิการ).มองสังคมผ่านวาทกรรม. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุคนธรัตน์ สร้อยทองดี. 2552. การนำเสนออุดมการณ์ความเป็นแม่ในวาทกรรมโฆษณาในนิตยสารสำหรับครอบครัว. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุจริตลักษณ์ ดีผดุง. 2552. วัจนปฏิบัติศาสตร์เบื้องต้น. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ปาณิสรา เบี้ยมุกดา. 2550. การเชื่อมโยงความในพระราชนิพนธ์เสด็จประพาสต่างประเทศของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (ภาษาไทย) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
ปัจพร ลีลาชีวสิทธิ์. 2549. การวิเคราะห์ปริจเฉทรายการโทรทัศน์ “หัวหมอจ้อข่าว” วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ภาษาไทย). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
มัญชุสา อังคะนาวิน. 2547. ปริจเฉทสารคดีท่องเที่ยวในอนุสาร อ.ส.ท.. วิทยานิพน์ อ.ม. (ภาษาไทย) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | สกาวเดือน ซาธรรม. 2549. การศึกษาปริจเฉทการสอบปากคำระหว่างพนักงานสอบสวนกับผู้เสียหายในการร้องทุกข์ให้เป็นคดีอาญา. วิทยานิพนธ์ อ.ม.(ภาษาไทย). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
สุทธิรักษ์ สุกาวิน. 2550. สัมพันธสารประเภทขบขันและปัญหาการตีความ. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์). พิษนุโลก: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
อัจฉรากร กัลยาจิตร์โกศล. 2543. ลักษณะการเชื่อมโยงความในกลอนนิราศของสุนทรภู่. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Panpothong, N. 2007. Being unattractive is like having a disease: On the advertising discourse of cosmetic surgery in Thai.Paper presented at the International. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Phakdeephasook, S. 2007. A Smart Person Knows How to Consume Healthily: A Study of Advertising Discourse of Health Products and Services. Paper presented at the International Symposium on Discourse, Communication, and Modernity. 2007, September 7.Bangkok, Thailand. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Sroikudrua, T. and P.Punkasirikul. 2013. “The Discursive Construction of Identities of Mia Farang inthe Movie: E-Nang Oie Koie Farang (White Buffalo).” |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
van Dijk, T.A. 1995. “Discourse semantics and ideology.”Discourse & Society. SAGE: 6(2): 243-289. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Gee, J.P. 2011. An Introduction to Discourse Analysis: Theory and Method (3rd ed.). London and NewYork: Routledge. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Haliday, M.A.K.; Hasan Ruqaiya.1976. Cohesion in English. London: Longman. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 มีภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข. ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชาภาษาไทยทั้งภาษาศาสตร์ภาษาไทยและวรรณกรรมไทย และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาภาษาไทย รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาภาษาไทย และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยในหัวข้อที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้