รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-3 | ความหมายและขอบเขตของภาษาอีสานในบริบทสังคมไทย | 9 |
|
กิจกรรม: ฟังบรรยายหัวข้อ ความหมายและขอบเขตของภาษาอีสานในบริบทสังคมไทย สื่อ : บทความวิจัยทางภาษาอีสาน ช่องทาง : เรียนทางออนไลน์ โปรแกรม KKU-E-leaning and Google Meet or Zoom ประเมิน : การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การสังเกตพฤติกรรม และการซักถาม |
|
4-6 |
ประวัติภาษาอีสาน - ภาษาอีสานในอดีต - ภาษาอีสานปัจจุบัน |
9 |
|
กิจกรรม: ฟังบรรยายหัวข้อ ประวัติภาษาอีสาน อักษรอีสาน และวิวัฒาการมาสู่ปัจจุบัน สื่อ : หนังสือ ภาษาอีสาน, ภาษาถิ่นไทย, อักษรอีสาน ช่องทาง : เรียนทางออนไลน์ โปรแกรม KKU-E-leaning and Google Meet or Zoom ประเมิน : การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การสังเกตพฤติกรรม แบบทดสอบ |
|
7-9 |
การเปลี่ยนแปลงภาษาอีสาน - ปัจจัยการเปลี่ยนแปลง - ลักษณะการเปลี่ยนแปลง |
9 |
|
กิจกรรม: ฟังบรรยายหัวข้อการเปลี่ยนแปลงภาษาอีสาน ปัจจัยการเปลี่ยนแปลง และลักษณะทางภาษาศาสตร์ของภาษาอีสานที่เกิดการเปลี่ยนแปลง สื่อ : บทความวิจัย ชุมชนภาษาอีสานในพื้นที่ต่าง ๆ ตามความสนใจ (community base) ช่องทาง : เรียนทางออนไลน์ โปรแกรม KKU-E-leaning and Google Meet or Zoom ประเมิน : การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การสังเกตพฤติกรรม งานที่รับมอบหมาย |
|
10-12 | บทบาทภาษาอีสานในสังคมและการ อนุวัติภาษาอีสาน | 9 |
|
กิจกรรม: อภิปรายร่วมกัน ถึงบทบาทภาษาอีสานในแต่ละชุมชนและแนวทางการอนุวัติ จากการลงภาคสนามชุมชนอีสาน สื่อ : ข้อมูลภาคสนามภาษาอีสานในชุมชนต่าง ๆ เป็นสื่อในการเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม ช่องทาง : เรียนทางออนไลน์ โปรแกรม KKU-E-leaning and Google Meet or Zoom ประเมิน : การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การสังเกตพฤติกรรม งานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย |
|
13-15 |
ประเด็นวิจัยภาษาอีสาน - การเลือกประเด็นปัญหา - การกำหนดพื้นที - การกำหนดประชากรกลุ่มตัวอย่าง - การนำเสนอผลการวิจัย |
9 |
|
กิจกรรม: นำเสนอผลการวิจัยรายกลุ่ม เกี่ยวกับประเด็นวิจัยภาษาอีสานในบริบทสังคมไทยสมัยใหม่ สื่อ : บทความวิจัยของแต่ละกลุ่ม และการนำเสนอแบบปากเปล่าโดยผ่านเทคโลยีสารสนเทศ ช่องทาง : เรียนทางออนไลน์ โปรแกรม KKU-E-leaning and Google Meet or Zoom ประเมิน : การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การสังเกตพฤติกรรม ผลการวิจัยเฉพาะประเด็นตามความสนใจ และงานที่ได้รับมอบหมาย (บทความวิจัย การนำเสนอผลการวิจัย) |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในกลุ่มและในชั้นเรียน |
|
20 | สัปดาห์ที่ 1-15 |
งานที่ได้รับมอบหมาย แบบทดสอบ |
|
40 | สัปดาห์ที่ 4-6 และ 7-9 และ 10-12 |
บทความวิจัย และ การนำเสนอผลการวิจัยผ่านสื่อสารสนเทศอย่างเหมาะสมและน่าสนใจ |
|
40 | สัปดาห์ที่ 13-15 |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
ธวัช ปุณโณทกและวิมล เขตตะ. (2548). ประวัติอักษรไทยพ่อขุนรามคำแหงและการแพร่กระจายสู่อาณาจักรล้านนา-ล้านช้าง. นนทบุรี: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | ประภาส สุระเสน. (2531). ความนิยมของภาษาในถิ่นอีสาน. ศิลปากร. 32(3),54-60. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ไพฑูรย์ มีกุศล. (2517). การปฏิรูปการปกครองมณฑลอีสาน พ.ศ. 2436-2453, กรุงเทพฯ: หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
สราภรณ์ สุวรรณแสง และ รัตนา จันทร์เทาว์ การสืบทอดภาษาอีสาน. (2559). วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 5 (2), 88 -102. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
เมตตา ฟองฤทธิ์. (2556). การสลับภาษาระหว่างภาษาไทยกลางและภาษาไทยถิ่นอีสานของนักจัดรายการวิทยุ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | รัตนา จันทร์เทาว์. (2550). ลมหายใจ ภาษาไทยถิ่นอีสาน. มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์. 24(3): 12-24. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
รัตนา จันทร์เทาว์. (2557). เอกสารประกอบการอบรมเรื่อง ประวัติความเป็นมาและอักขรวิธีไทยน้อย, ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
เทศบาลนครขอนแก่น และคณะ. (2556). รายงานผลสำรวจทัศนคติเกี่ยวกับหลักสูตรภาษาอีสานของโครงการอนุรักษ์และฟื้นฟู วัฒนธรรมอีสานในเขตเทศบาลเมืองจังหวัดขอนแก่น. ขอนแก่น: วิทยาลัยการปกครอง มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | อดุลย์ ตะพัง. (2551). ภาษาและอักษรอีสาน, กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
อรพัช บวรรักษา. (2546). อิทธิพลของภาษาไทยกรุงเทพฯ กับการใช้คำของผู้พูดภาษาไทยอีสาน จังหวัดชัยภูมิ. วารสารวรรณวิทัศน์3, (ฉบับเปลี่ยนแปลงเพื่อก้าวย่าง), 84-94. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | อุดม บัวศรี. (2540). วัฒนธรรมอีสาน, ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Draper. J. (2010). Inferring ethnolinguistic vitality in a community of Northeast Thailand, Multilingual and Multicultural Development, 31(2), 135-148. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Kymlicka. W. (1989). Liberalism, community, and culture. New York: Oxford University Press. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Chanthao. R. (2002). Code-mixing between central Thai and northeastern Thai of the students in Khon Kaen province. Thesis in Linguistics, Mahidol University. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Tomlinson, J. (1999). Globalization and culture. Chicago: The University of Chicago Press. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 มีภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข. ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชาภาษาไทยทั้งภาษาศาสตร์ภาษาไทยและวรรณกรรมไทย และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาภาษาไทย รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาภาษาไทย และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยในหัวข้อที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้