รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
-แนะนำรายวิชา ข้อตกลงเบื้องต้น -ความหมาย ขอบเขต และบทบาทเกี่ยวกับคติชนวิทยากับภาษาไทยและภาษาท้องถิ่น |
6 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meets Hangout เพือชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงาน และอธิบายประมวลรายวิชา จุดประสงค์การเรียนรู้ และตกลงรูปแบบการประเมินผลการเรียนร่วมกัน (2) บรรยายและอภิปรายเกี่ยวกับขอบเขตของการศึกษาทางคติชนวิทยา (3) มอบหมายงานให้นักศึกษาอ่านเอกสารเรื่อง “ความรู้พื้นฐานของคติชนวิทยา” แล้วอภิปรายประเด็นความสัมพันธํเชื่อมโยงกับภาษาไทย รวมทั้งบทบาทของคติชนวิทยาในการทำความเข้าใจท้องถิ่น |
|
3-4 | พัฒนาการของคติชนวิทยาในต่างประเทศและประเทศไทย | 6 |
|
(1) บรรยายพัฒนาการของคติชนวิทยาในต่างประเทศและประเทศไทย (2) ให้นักศึกษาอ่านบทความ”คติชนวิทยา: จากคติชนสู่ชาวบ้านและชาวเมือง” และ “ความสนใจใหม่ๆ ในแวดวงคติชนวิทยา” ของศิราพร ณ ถลาง (3) นักศึกษาร่วมอภิปรายประเด็นในการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา แนวคิด รวมทั้งระเบียบวิธีการศึกษาทางด้านคติชนวิทยา จากอดีตถึงปัจจุบัน ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ (4) ส่งสรุปผลประเด็นการศึกษาพัฒนาการทาง Online |
|
5-6 | การศึกษาในแนวทางคติชนวิทยา ประเภทของข้อมูล การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล | 6 |
|
(1) นักศึกษาอ่านเอกสาร “ความหมายและการแบ่งประเภทนิทานพื้นบ้าน” (2) ร่วมกันอภิปรายและสรุปแนวทางการศึกษาทางคติชนวิทยาในภาษาไทยจากเอกสารข้างต้น และแนวโน้มของการศึกษาในอนาคต (3) นักศึกษาอ่านเอกสาร “ลักษณะร่าวมและความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมท้องถิ่นของตำนานปฐมกัปป์/ปฐมมูล ฉบับสิบสองพันนา ล้านนา และอีสาน” และร่วมกันอภิปรายแนวทางการศึกษา (4) ส่งสรุปผลการวิพากษ์บทความทาง Online |
|
7-8 |
-ความหมายขอบเขตทฤษฎีคติชนวิทยา (แบบเรื่องและอนุภาค) |
6 |
|
(1) ให้นักศึกษาอ่านเอกสาร “แบบเรื่อง สำนวน อนุภาค และกฏเกี่ยวกับนิทานพื้นบ้าน (2) บรรยายประเด็นการศึกษาข้อมูลนิทานด้วยทฤษฎีแบบเรื่องและอนุภาค (3) นักศึกษาอ่านบทความ “การใช้ตำนานในการจัดกลุ่มคนไท-ไท” จากนั้นให้นักศึกษาอภิปรายเชื่อมโยงการศึกษาแบบเรื่องและอนุภาค (4) ให้นักศึกษาเลือกบทความวิจัยทางคติชนวิทยาที่ใช้ทฤษฎีแบบเรื่องเพื่ออภิปรายตามประเด็นที่กำหนดไว้ (5) ส่งงานการวิพากษ์บทความทาง Online |
|
9-10 | - ทฤษฎีคติชนวิทยา (การสื่อสารความหมายทางวัฒนธรรม ชุมชน และอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ | 6 |
|
(1) นักศึกษาอ่านบทความ “ดงภูดิน: เรื่องเล่าศักดิ์สิทธิ์กับปฏิบัติการสร้างความหมายว่าด้วยสิทธิชุมชน” และ “วรรณกรรมพื้นบ้านในชุมชนลาวหลวงพระบางกีบบทบาทการสืบสานความเป็นลาวหลวงพระบางในสังคมไทย” (2) บรรยายประเด็นการศึกษาข้อมูลคติชนด้วยทฤษฎีการสื่อสารความหมายทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ และเชื่อมโยงประเด็นการศึกษากับบทความที่อ่านข้างต้น (2) นักศึกษาเลือกอ่านบทความในหนังสือ “มองคติชน เห็นตัวตนชาติพันธุ์” เพื่ออภิปรายตามประเด็นที่กำหนดไว้ (3) ส่งงานการวิพากษ์บทความทาง Online |
|
11-12 |
-- คติชนวิทยาสร้างสรรค์กับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในสังคมไทย |
6 |
|
(1) บรรยายประเด็นการศึกษาข้อมูลด้วยคติชนวิทยาสร้างสรรค์ ทั้งแนวทาง ขอบเขต และวิธีการศึกษา (2) ให้นักศึกษาเลือกบทความวิจัยทางคติชนวิทยาที่ใช้คติชนวิทยาสร้างสรรค์เพื่ออภิปรายตามประเด็นที่กำหนดไว้ (3) ส่งงานการวิพากษ์บทความทาง Online |
|
13 | ประเด็นปัจจุบันและแนวโน้มของการศึกษาคติชนวิทยาในภาษาและวรรณกรรมท้องถิ่น | 3 |
|
(1) บรรยายสรุปประเด็นการศึกษาทางคติชนวิทยากับภาษาไทย (2) ให้นักศึกษานำเสนอหัวข้อที่จะศึกษาทางคคิชนวิทยาในภาษาไทยที่เลือกไว้เพื่อให้อาจารย์และเพื่อนแนะนำและแก้ไขประเด็นที่กำหนดไว้ |
|
14-15 | 7. การนำเสนอประเด็นการศึกษาทางคติชนวิทยาในภาษาไทย | 6 |
|
(1) นักศึกษานำเสนอตัวอย่างการศึกษาที่เขียน เพื่ออภิปรายร่วมกัน (2) สะท้อนผลการเรียนรู้ใน Feedback ในระบบ e-Learning KKU |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การเข้าเรียนใน KKU e-Learning และการมีส่วนร่วมใน Discussion forum |
|
20 |
ทุกสัปดาห์ |
การสรุปงานและวิพากษ์งานวิจัย |
|
25 | สัปดาห์ที่ 4, 6, 8, 10, 12 |
การเขียนเค้าโครงการศึกษา |
|
25 | ส่งสัปดาห์ที่ 14 |
การนำเสนอเค้าโครงการศึกษาและการตอบคำถาม |
|
30 | สัปดาห์ที่ 14, 15 |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | ประคอง นิมมานเหมินท์.(2557). นิทานพื้นบ้านศึกษา. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุกัญญา สุจฉายา. วรรณคดีนิทานไทย. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
พยุงพร นนทวิศรุต. (2555, 1 กรกฏาคม-ธันวาคม). “ตำนานผีเจ้านายยุคอาณานิคมกับบทบาทการสร้างพื้นที่ทางสังคมใน ชุมชนไทย-ลาว” ศิลปวัฒนธรรมศึกษา. 1, 1: 155-186. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ศิราพร ณ ถลาง. (2559). คติชนสร้างสรรค์: บทสังเคราะห์และทฤษฎี. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินทร. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ศิราพร ณ ถลาง.(2552). ทฤษฎีคติชนวิทยา วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน-นิทานพื้นบ้าน. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ศิราพร ณ ถลาง, อภิลักษณ์ เกษมผลกูล, สุกัญญา สุจฉายา และศิริพร ภักดีผาสุข. (2558). เรื่องเล่าพื้นบ้านไทยในโลกที่ เปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินทร. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ศิราพร ณ ถลาง และสุพิน ฤทธิ์เพ็ญ.(2558). คติชนในบริบทข้ามพรมแดน : งานปอยไทใหญ่ในจังหวัดเชียงใหม่. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินทร. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ศิราพร ณ ถลาง (บรรณาธิการ).(2558). ประเพณีสร้างสรรค์ ในสังคมไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินทร. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
หนอง หยีฉอง. (2559). การเปรียบเทียบตำนานข้าวของภาคอีสานประเทศไทยกับจ้วง มณฑลกวางสี ในสาธารณรัฐ ประชาชนจีน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไท มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
อนันต์ ลากุล และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2560, 2 กรกฏาคม-ธันวาคม) “แบบเรื่องและอนุภาคสัตว์สีเผือกในตำนานเมืองล่ม ภาคอีสาน”. ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม. 6, 2: 37-50. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2541). บททำขวัญเรื่อและพิธีทำขวัญเรือของชาวไทยภาคใต้: การสร้างสรรค์และการถ่ายทอด. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | กาญจนา แก้วเทพ. (2545). เมื่อสื่อส่องและสร้างวัฒนธรรมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ศาลาแดง. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | กาญจนา แก้วเทพ. (2544). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรสโปรดักส์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
เกศินี จุฑาวิจิตร. (2550). ภาพสะท้อนสังคมและโลกทัศน์ของนักเขียนจากเรื่องสั้นยุควิกฤติเศรษฐกิจ. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
จิตรกร เอมพันธ์. (2545). พญานาค เจ้าแห่งแม่น้ำโขง: พิธีกรรมกับระบบความเชื่อพื้นบ้านแห่งวัฒนธรรมอีสาน. วิทยานิพนธ์มานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ปฐม หงส์สุวรรณ. (2550). กาลครั้งหนึ่งว่าด้วยตำนานและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ปฐม หงส์สุวรรณ.(2556). นานมาแล้ว มีเรื่องเล่า นิทาน ตำนาน ชีวิต. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี (บรรณาธิการ). (2546). อัตลักษณ์ ชาติพันธุ์ และความเป็นชายขอบ. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินทร. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
พัฒนา กิติอาษา. (2545). "ตัวตนทางวัฒนธรรม: เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการระดับชาติ ทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 1 เรื่อง คนมองคน: ตัวตนและชีวิตสมัยใหม่ในการเปลี่ยนแปลง" กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินทร. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | วาทกรรมอัตลักษณ์. (2547). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยาวิทยาสิรินทร. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ตรีศิลป์ บุญขจร. (2547). นวนิยายกับสังคมไทย (2575-2500). กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2543). ปากไก่และใบเรือ ว่าด้วยการศึกษาประวัติศาสตร์-วรรณกรรมต้นรัตนโกสินทร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: แพรวสำนักพิมพ์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | พิเชฐ แสงทอง. (2550). วาทกรรมวรรณกรรม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยสารคาม. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | โรลองด์ บาร์ตส์. (2547). มายาคติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สรณัฐ ไตลังคะ. (2550, กุมภาพันธ์-กรกฎาคม) "เรื่องสั้นคตินิยมสมัยใหม่กับการเปลี่ยนแปลงสังคมเมือง". ไทยศึกษา. 3, 1 : 9-42. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
อารียา หุตินทะ. (2550, กุมภาพันธ์-กรกฎาคม). "ภาพลักษณ์สังคมเมืองในเรื่องสั้นไทยร่วมสมัยระหว่าง พ.ศ. 2534- 2536". ไทยศึกษา. 3, 1 : 43-76. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Hall, Stuart. (1997). Representation: Cultural Representations and Signifying Practice. London : SAGE. |
||
e-Learning | KKU e-Learning: HS647 208 คติชนวิทยาในภาษาไทย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 มีภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข. ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชาภาษาไทยทั้งภาษาศาสตร์ภาษาไทยและวรรณกรรมไทย และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาภาษาไทย รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาภาษาไทย และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยในหัวข้อที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้