Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรใหม่ ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS677101
ภาษาไทย
Thai name
ทฤษฎีภาษาศาสตร์และวรรณกรรมเพื่อการวิจัยภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
English name
LINGUISTICS AND LITERATURE THEORIES FOR THAI LANGAUGE RESEARCH
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2560)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์อิศเรศ ดลเพ็ญ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์อรทัย เพียยุระ
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์อิศเรศ ดลเพ็ญ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีภาษาศาสตร์ ทฤษฎีวรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีภาษาศาสตร์ การวิเคราะห์ภาษาศาสตร์ด้วยทฤษฎีวรรณกรรม การประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์และวรรณกรรมในงานวิจัย
    • ศึกษาทฤษฎีภาษาศาสตร์และทฤษฎีวรรณกรรมใหม่ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในงานวิจัย
    • เกิดความภาคภูมิใจในภาษาและวรรณกรรมไทย
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • มีความรอบรู้ในทฤษฎีภาษาและวรรณกรรมไทย
      • บูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อประยุกต์ใช้และวิเคราะห์ข้อมูลทางภาษาและวรรณกรรมไทย
      • ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของภาษาและวรรณกรรมไทย ตลอดจนสามารถประเมินค่าได้
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      • ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      • มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      ทฤษฎีภาษาศาสตร์ ทฤษฎีวรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีภาษาศาสตร์ การวิเคราะห์ภาษาศาสตร์ด้วยทฤษฎีวรรณกรรม การประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์และวรรณกรรมในงานวิจัย
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Linguisitics theory, literature theory, literature analysis by linguistics theory, linguistics analysis by literature theory, application of linguistics and literature theories in research
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Online learning
      • Blended learning
      • Work integrated learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Problem-based learning
      • Task-based learning
      • Project-based learning
      • Community based learning
      • Flipped classroom
      • Service-based learning
      • Experiential learning
      • Case discussion
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-2 1. แนะนำรายวิชา
      2. ความหมาย และความสำคัญของการใช้ทฤษฎีภาษาศาสตร์และทฤษฎีวรรณกรรมในงานวิจัย

      6
      • K1: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีภาษาศาสตร์ ทฤษฎีวรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีภาษาศาสตร์ การวิเคราะห์ภาษาศาสตร์ด้วยทฤษฎีวรรณกรรม การประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์และวรรณกรรมในงานวิจัย
      • K2: ศึกษาทฤษฎีภาษาศาสตร์และทฤษฎีวรรณกรรมใหม่ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในงานวิจัย
      • S1: มีความรอบรู้ในทฤษฎีภาษาและวรรณกรรมไทย
      • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      1. VDO conference แนะนำรายวิชา
      2. บรรยายผ่าน VDO conference
      3. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน
      4. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
      3-5 ทฤษฎีภาษาศาสตร์เพื่อการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
      - Theories of Morphology
      - Theories of Syntax
      -Theories of Semantics
      - Theories of discourse
      - Theories of Pragmatics

      9
      • K1: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีภาษาศาสตร์ ทฤษฎีวรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีภาษาศาสตร์ การวิเคราะห์ภาษาศาสตร์ด้วยทฤษฎีวรรณกรรม การประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์และวรรณกรรมในงานวิจัย
      • K2: ศึกษาทฤษฎีภาษาศาสตร์และทฤษฎีวรรณกรรมใหม่ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในงานวิจัย
      • S1: มีความรอบรู้ในทฤษฎีภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S2: บูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อประยุกต์ใช้และวิเคราะห์ข้อมูลทางภาษาและวรรณกรรมไทย
      • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      • C2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน ผ่านระบบ e-learning
      2. VDO conference
      3. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน
      4. คลิปวิดีโอจาก YouTube
      5. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
      6. อภิปรายทฤษฎีภาษาศาสตร์ที่เหมาะสมกับการวิเคราะห์ข้อมุลภาษาไทย
      7. ฝึกวิเคราะห์ข้อมูลภาษาไทยจากทฤษฎีที่ได้เรียนรู้
      6-8 ประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์ในการวิจัยภาษาไทย 9
      • K1: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีภาษาศาสตร์ ทฤษฎีวรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีภาษาศาสตร์ การวิเคราะห์ภาษาศาสตร์ด้วยทฤษฎีวรรณกรรม การประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์และวรรณกรรมในงานวิจัย
      • K2: ศึกษาทฤษฎีภาษาศาสตร์และทฤษฎีวรรณกรรมใหม่ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในงานวิจัย
      • K3: เกิดความภาคภูมิใจในภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S1: มีความรอบรู้ในทฤษฎีภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S2: บูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อประยุกต์ใช้และวิเคราะห์ข้อมูลทางภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S3: ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของภาษาและวรรณกรรมไทย ตลอดจนสามารถประเมินค่าได้
      • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      • C2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      • C3: มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
      1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน ผ่านระบบ e-learning
      2. VDO conference
      3. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน
      3. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
      4. อภิปรายการประยุกต์ใช้ทฤษฎีภาษาศาสตร์ในการวิจัย
      5. ทดสอบผลการเรียนรู้ออนไลน์
      9-11 ทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์วรรณกรรม
      -Psychoanalysis
      -Marxism
      -Feminism
      -Gender Theories
      -Postmodernism
      9
      • K1: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีภาษาศาสตร์ ทฤษฎีวรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีภาษาศาสตร์ การวิเคราะห์ภาษาศาสตร์ด้วยทฤษฎีวรรณกรรม การประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์และวรรณกรรมในงานวิจัย
      • K2: ศึกษาทฤษฎีภาษาศาสตร์และทฤษฎีวรรณกรรมใหม่ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในงานวิจัย
      • K3: เกิดความภาคภูมิใจในภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S1: มีความรอบรู้ในทฤษฎีภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S2: บูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อประยุกต์ใช้และวิเคราะห์ข้อมูลทางภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S3: ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของภาษาและวรรณกรรมไทย ตลอดจนสามารถประเมินค่าได้
      • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      • C2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      • C3: มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
      1. บรรยายผ่าน VDO conference
      2. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
      3. อภิปรายทฤษฎีวรรณกรรมที่เหมาะสมกับการวิเคราะห์วรรณกรรมไทย
      4. ฝึกวิเคราะห์วรรณกรรมไทยจากทฤษฎีที่ได้เรียนรู้
      12-13 ประยุกต์ทฤษฎีวรรณกรรมในการวิจัยวรรณกรรมไทย 6
      • K1: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีภาษาศาสตร์ ทฤษฎีวรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีภาษาศาสตร์ การวิเคราะห์ภาษาศาสตร์ด้วยทฤษฎีวรรณกรรม การประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์และวรรณกรรมในงานวิจัย
      • K2: ศึกษาทฤษฎีภาษาศาสตร์และทฤษฎีวรรณกรรมใหม่ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในงานวิจัย
      • K3: เกิดความภาคภูมิใจในภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S1: มีความรอบรู้ในทฤษฎีภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S2: บูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อประยุกต์ใช้และวิเคราะห์ข้อมูลทางภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S3: ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของภาษาและวรรณกรรมไทย ตลอดจนสามารถประเมินค่าได้
      • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      • C2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      • C3: มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
      1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน ผ่านระบบ e-learning
      2. VDO conference
      3. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน
      3. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
      4. อภิปรายการประยุกต์ใช้ทฤษฎีวรรณกรรมในการวิจัย
      14-15 นำเสนอการประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์วรรณกรรมในงานวิจัย 6
      • K1: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีภาษาศาสตร์ ทฤษฎีวรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีภาษาศาสตร์ การวิเคราะห์ภาษาศาสตร์ด้วยทฤษฎีวรรณกรรม การประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์และวรรณกรรมในงานวิจัย
      • K2: ศึกษาทฤษฎีภาษาศาสตร์และทฤษฎีวรรณกรรมใหม่ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในงานวิจัย
      • K3: เกิดความภาคภูมิใจในภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S1: มีความรอบรู้ในทฤษฎีภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S2: บูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อประยุกต์ใช้และวิเคราะห์ข้อมูลทางภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S3: ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของภาษาและวรรณกรรมไทย ตลอดจนสามารถประเมินค่าได้
      • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      • C2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      • C3: มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
      นักศึกษานำเสนอผ่านระบบ VDO conference

      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      1. กิจกรรมและทดสอบย่อย
      • K1: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีภาษาศาสตร์ ทฤษฎีวรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีภาษาศาสตร์ การวิเคราะห์ภาษาศาสตร์ด้วยทฤษฎีวรรณกรรม การประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์และวรรณกรรมในงานวิจัย
      • K2: ศึกษาทฤษฎีภาษาศาสตร์และทฤษฎีวรรณกรรมใหม่ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในงานวิจัย
      • K3: เกิดความภาคภูมิใจในภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S1: มีความรอบรู้ในทฤษฎีภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S2: บูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อประยุกต์ใช้และวิเคราะห์ข้อมูลทางภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S3: ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของภาษาและวรรณกรรมไทย ตลอดจนสามารถประเมินค่าได้
      • A2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      20 สัปดาห์ที่ 4, 8
      2. สอบกลางภาค
      • K1: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีภาษาศาสตร์ ทฤษฎีวรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีภาษาศาสตร์ การวิเคราะห์ภาษาศาสตร์ด้วยทฤษฎีวรรณกรรม การประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์และวรรณกรรมในงานวิจัย
      • K2: ศึกษาทฤษฎีภาษาศาสตร์และทฤษฎีวรรณกรรมใหม่ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในงานวิจัย
      • K3: เกิดความภาคภูมิใจในภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S1: มีความรอบรู้ในทฤษฎีภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S2: บูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อประยุกต์ใช้และวิเคราะห์ข้อมูลทางภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S3: ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของภาษาและวรรณกรรมไทย ตลอดจนสามารถประเมินค่าได้
      • A1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      • A2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      • A3: มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
      20 ตามปฏิทินของมหาวิทนาลัย
      3. สอบปลายภาค
      • K1: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีภาษาศาสตร์ ทฤษฎีวรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีภาษาศาสตร์ การวิเคราะห์ภาษาศาสตร์ด้วยทฤษฎีวรรณกรรม การประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์และวรรณกรรมในงานวิจัย
      • K2: ศึกษาทฤษฎีภาษาศาสตร์และทฤษฎีวรรณกรรมใหม่ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในงานวิจัย
      • K3: เกิดความภาคภูมิใจในภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S1: มีความรอบรู้ในทฤษฎีภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S2: บูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อประยุกต์ใช้และวิเคราะห์ข้อมูลทางภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S3: ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของภาษาและวรรณกรรมไทย ตลอดจนสามารถประเมินค่าได้
      • A1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      • A2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      • A3: มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
      20 ตามปฏิทินของมหาวิทนาลัย
      4. การนำสนอผลการค้นคว้าผ่าน VDO conference
      • K1: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีภาษาศาสตร์ ทฤษฎีวรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณกรรมด้วยทฤษฎีภาษาศาสตร์ การวิเคราะห์ภาษาศาสตร์ด้วยทฤษฎีวรรณกรรม การประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์และวรรณกรรมในงานวิจัย
      • K2: ศึกษาทฤษฎีภาษาศาสตร์และทฤษฎีวรรณกรรมใหม่ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในงานวิจัย
      • K3: เกิดความภาคภูมิใจในภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S1: มีความรอบรู้ในทฤษฎีภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S2: บูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อประยุกต์ใช้และวิเคราะห์ข้อมูลทางภาษาและวรรณกรรมไทย
      • S3: ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของภาษาและวรรณกรรมไทย ตลอดจนสามารถประเมินค่าได้
      • A1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      • A2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      • A3: มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
      30 สัปดาห์ที่ 14 และ 15
      5. การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนออนไลน์
      • A1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      • A3: มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
      10 ทุกสัปดาห์ที่มี VDO conference
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา พิณทิพย์ ทวยเจริญ. (2543). ภาพรวมของการศึกษาภาษาและภาษาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
      หนังสือ หรือ ตำรา ราชบัณฑิตยสถาน. (2553). พจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์). กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน.
      หนังสือ หรือ ตำรา สุจริตลักษณ์ ดีผดุง. (2541). ทฤษฎีวากยสัมพันธ์. นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบทมหาวิทยาลัยมหิดล.
      หนังสือ หรือ ตำรา อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2546). ทฤษฎีไวยากรณ์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      หนังสือ หรือ ตำรา อุดม วโรตม์สิกขดิตถ์. (2542). ไวยากรณ์ไทยในภาษาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
      หนังสือ หรือ ตำรา Carniie, A. (2013). Syntax: A Generative Introduction (3rd ed.). London: Wiley-Blackwell.
      หนังสือ หรือ ตำรา Carter,R. (1991).Language and Literature. London:Routledge.
      หนังสือ หรือ ตำรา Eagleton,T.(1996). Literary Theory: An Introduction. Oxford: Blackwell Publishers.
      หนังสือ หรือ ตำรา Halliday, M.A.K., & Matthiessen, C.M.I.M. (2004). An introduction to functional grammar. Third revised edition of M.A.K. Halliday, An Introduction to Functional Grammar. London: Hodder-Arnold.
      หนังสือ หรือ ตำรา Halliday, M.A.K., & Ruquiya H. (1976). Cohesion in English. Singapore: Longman Singapore Publishers (Pte) Ltd.
      หนังสือ หรือ ตำรา Leech, G. N. (1983). Principles of pragmatics. London: Longman.
      หนังสือ หรือ ตำรา Longacre, R. E. (1983). The grammar of discourse. New York: Plenum Press.
      หนังสือ หรือ ตำรา Lyons, J. (1977). Semantics 2. Great Britain: Cambridge University Press.
      หนังสือ หรือ ตำรา Patpong, P. (2006). A systemic functional interpretation of Thai grammar: An explosion of Thai narrative discourse. PhD dissertation, Macquarie University.
      หนังสือ หรือ ตำรา Saeed, John I. (2012). Semantics (3rd ed.). Singapore: Wiley-Blackwell.
      หนังสือ หรือ ตำรา Schiffrin, D. (1994). Approaches to discourse. Cambridge, MA & Oxford: Blackwell.
      หนังสือ หรือ ตำรา Soles,D.(2009). Understanding Literature and Film. Abergele: Studymates.
      หนังสือ หรือ ตำรา Thompson, G. (2004). Introducing Functional Grammar (2nd ed.). London: Arnold Publication.
      หนังสือ หรือ ตำรา Tyson,L.(2011). Using Critical Theory. Oxon:Routledge.
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.grammatics.com/appraisal/index.html
      YouTube https://www.youtube.com/watch?v=9LSjoGVVWp4
      YouTube https://www.youtube.com/watch?v=ONV38l39PsE
      YouTube https://www.youtube.com/watch?v=4YY4CTSQ8nY
      YouTube https://www.youtube.com/watch?v=zS22f07a2MY
      YouTube https://www.youtube.com/watch?v=TxnqHukr-Oc
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2

      รายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ของแผนที่กระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
      หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรใหม่ 2560)

      1. คุณธรรมและจริยธรรม
      1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
      1.2 มีภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข. ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ

      2. ความรู้
      2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชาภาษาไทยทั้งภาษาศาสตร์ภาษาไทยและวรรณกรรมไทย และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
      2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาภาษาไทย รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

      3. ทักษะทางปัญญา
      3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาภาษาไทย และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
      3.2 สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยในหัวข้อที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ

      4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
      4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้

      5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้