รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรใหม่ ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-3 | ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางภาษาศาสตร์ และภาษาไทย | 9 |
|
กิจกรรม: ฟังบรรยายหัวข้อ ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางภาษาศาสตร์และภาษาไทย, อ่านบทความวิจัยและอธิบายระเบียบวิธีวิจัย,วิพากษ์ระเบียบวิธีวิจัยได้ สื่อ : บทความวิจัยทางภาษาศาสตร์และภาษาไทย งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ช่องทาง : เรียนทางออนไลน์ โปรแกรม Google Meet or Zoom ประเมิน : การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การสังเกตพฤติกรรม |
|
4-6 | ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวรรณกรรมไทย | 9 |
|
กิจกรรม: ฟังบรรยายหัวข้อ ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวรรณกรรม, อ่านบทความวิจัยและอธิบายระเบียบวิธีวิจัยของงานวิจัย, วิพากษ์ระเบียบวิธีวิจัยได้ สื่อ : บทความวิจัยทางวรรณกรรมไทย งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ช่องทาง : เรียนทางออนไลน์ โปรแกรม Google Meet or Zoom ประเมิน : การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การสังเกตพฤติกรรม |
|
7-9 | วิธีวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยเชิงคุณภาพ | 9 |
|
กิจกรรม: ฟังบรรยายหัวข้อ วิธีวิจัยเชิงคุณภาพทางภาษาและวรรณกรรมไทย อ่านบทความวิจัยและอธิบายระเบียบวิธีวิจัยของงานวิจัย, วิพากษ์ระเบียบวิธีวิจัยได้ สื่อ : บทความวิจัยทางวรรณกรรมไทย งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ช่องทาง : เรียนทางออนไลน์ โปรแกรม Google Meet or Zoom ประเมิน : การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การสังเกตพฤติกรรม |
|
10-12 | งานวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยเชิงปริมาณ | 9 |
|
กิจกรรม: ฟังบรรยายหัวข้อ งานวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยเชิงปริมาณ อ่านบทความวิจัยและอธิบายระเบียบวิธีวิจัยของงานวิจัย, วิพากษ์ระเบียบวิธีวิจัยได้ สื่อ : บทความวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยเชิงปริมาณ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ช่องทาง : เรียนทางออนไลน์ โปรแกรม Google Meet or Zoom ประเมิน : การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การสังเกตพฤติกรรม |
|
13-15 | งานวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยแบบผสม | 9 |
|
กิจกรรม: ฟังบรรยายหัวข้อ งานวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยแบบผสม อ่านบทความวิจัยและอธิบายระเบียบวิธีวิจัยของงานวิจัย, วิพากษ์ระเบียบวิธีวิจัยได้ สื่อ : บทความวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยแบบผสม งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ช่องทาง : เรียนทางออนไลน์ โปรแกรม Google Meet or Zoom ประเมิน : การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การสังเกตพฤติกรรม และการมอบหมายงาน เรื่อง “การออกแบบงานวิจัยทางภาษาศาสตร์ภาษาไทย หรือ วรรณกรรมไทย ที่สามารถพัฒนาไปสู่งานดุษฎีนิพนธ์ โดยใช้ความรู้ ความเข้าใจที่ได้เรียนมา |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในกลุ่มและในชั้นเรียน |
|
20 | |
งานที่ได้รับมอบหมาย |
|
30 | |
การออกแบบงานวิจัยเพื่อนำไปสู่ดุษฎีนิพนธ์ |
|
50 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
ชำนาญ รอดเหตุภัย. (2552). การวิจัยทางภาษาไทย : หลักการและวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพทางภาษาไทย ไทยคดีศึกษา ศึกษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วัฒนธรรมศาสตร์ และศาสตร์สาขาที่เกี่ยวข้อง. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | มนัส สุวรรณ. (2544). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. กรุงเทพ: โอเดียนสโตร์ | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุภางค์ จันทวานิช. (2555). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Caracelli, V.J. & Greene, J.C. (1993). “Data Analysis Strategies for Mixed-Method Evaluation Designs.” Educational Evaluation and Policy Analysis, 15 (2), 195-207. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Cohen, J. (1977). Statistical Power Analysis for the Behavioral Sciences. New York: Academic Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Tashakkori, A. & Teddie, C. (1998). Mixed Methodology: Combining qualitative and quantitative approaches. Thousand Oaks, CA: Sage |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ของแผนที่กระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรใหม่ 2560)
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 มีภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข. ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชาภาษาไทยทั้งภาษาศาสตร์ภาษาไทยและวรรณกรรมไทย และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาภาษาไทย รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาภาษาไทย และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยในหัวข้อที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้