Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS613211
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาไทยในสื่อใหม่
ภาษาอังกฤษ
English name
Thai Language in New Media
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาลี ปรีชาปัญญากุล
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาลี ปรีชาปัญญากุล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องคุณลักษณะ ประเภท ของสื่อใหม่
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของภาษาในสื่อใหม่
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภาษาในสื่อใหม่
    • นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภาษาในสื่อ
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในความสำคัญของสื่อใหม่
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษาต้องตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน
    • ต้องมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของภาษาในสื่อใหม่
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่าของการเปลี่ยนแปลงทางภาษา
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    คุณลักษณะ ประเภท ความสำคัญของสื่อใหม่ พัฒนาการ และการเปลี่ยนแปลงของภาษาในสื่อใหม่
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Characteristics, types, and significance of new medias; development and changes of language in new media
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Research-based learning
    • Problem-based learning
    • Task-based learning
    • Project-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-3 ชี้แจงรายละเอียดรายวิชาและวิธีการเรียนการสอน พร้อมข้อตกลงเบื้องต้น เปิดโอกาสให้นักศึกษานำเสนอความคิดเห็น
    1.ความรู้เรื่องสื่อใหม่
    1.1 คุณลักษณะ
    1.2 ประเภท
    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องคุณลักษณะ ประเภท ของสื่อใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E2: ต้องมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยายเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้เรื่องสื่อใหม่ ทั้งในเรื่องของคุณลักษณะ ประเภทและความสำคัญของสื่อใหม่ พร้อมให้นักศึกษาค้นคว้าและอภิปรายร่วมกันในชั้นว่าสื่อใหม่ีคืออะไร มีความสำคัญอย่างไร
    4-6 2. ความสำคัญของสื่อใหม่
    2.1 ความสำคัญต่อสังคม
    2.2 ความสำคัญต่อเศรษฐกิจ
    2.3 ความสำคัญต่อการเมือง
    9
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในความสำคัญของสื่อใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษาต้องตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน
    • E2: ต้องมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ให้นักศึกษาค้นคว้าถึงความสำคัญของสื่อใหม่ในแต่ละด้าน พร้อมยกกรณีศึกษามานำเสนอให้เห็นชัดเจน จากนั้นนำมาอภิปรายร่วมกัน และสรุปในตอนท้ายเพื่อให้เห็นถึงความสำคัญของสื่อใหม่
    7-9 3. ภาษาไทยในสื่อใหม่
    3.1 วัจนภาษา
    3.2 อวัจนภาษา
    9
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภาษาในสื่อใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษาต้องตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยายและนำเนื้อหาภาษาที่นำเสนอในสื่อใหม่ให้นักศึกษาได้ศึกษาเป็นกรณี ๆ พร้อมกับแบ่งกลุ่มนักศึกษาให้ค้นคว้าในส่วนที่เป็นวัจนภาษาและอวัจภาษาในสื่อใหม่ แล้วนำมาเสนอหน้าชั้นเรียนเพื่อวิเคราะห์ร่วมกัน
    10-12 4. พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของวัจนภาษาในสื่อใหม่

    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องคุณลักษณะ ประเภท ของสื่อใหม่
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของภาษาในสื่อใหม่
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภาษาในสื่อใหม่
    • K4: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภาษาในสื่อ
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในความสำคัญของสื่อใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของภาษาในสื่อใหม่
    • E1: นักศึกษาต้องตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน
    • E2: ต้องมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่าของการเปลี่ยนแปลงทางภาษา
    ให้นักศึกษาค้นคว้า ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของภาษาในสื่อใหม่ในส่วนของวัจนภาษา โดยแบ่งเป็นกลุ่ม ๆ และวิเคราะห์ในสื่อใหม่แต่ละประเภท จากนั้นนำเสนอหน้าห้องเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน
    13-15 5. พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของอวัจนภาษาในสื่อใหม่ 9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องคุณลักษณะ ประเภท ของสื่อใหม่
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของภาษาในสื่อใหม่
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภาษาในสื่อใหม่
    • K4: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภาษาในสื่อ
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในความสำคัญของสื่อใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของภาษาในสื่อใหม่
    • E1: นักศึกษาต้องตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน
    • E2: ต้องมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่าของการเปลี่ยนแปลงทางภาษา
    ให้นักศึกษาค้นคว้า ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของภาษาในสื่อใหม่ในส่วนของอวัจนภาษา โดยแบ่งเป็นกลุ่ม ๆ และวิเคราะห์ในสื่อใหม่แต่ละประเภท จากนั้นนำเสนอหน้าห้องเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องคุณลักษณะ ประเภท ของสื่อใหม่
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภาษาในสื่อใหม่
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในความสำคัญของสื่อใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E2: ต้องมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    20 มีคะแนนการมีส่วนร่วมในห้องเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตอบคำถาม รวมทั้งมีความกระตือรือร้นในการไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
    งานเดี่ยว ชิ้นที่ 1
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในความสำคัญของสื่อใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E2: ต้องมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    10 นักศึกษาจะได้มีความรู้และสามารถใช้ความรู้วิเคราะห์ถึงความสำคัญของสื่อใหม่ในด้านต่าง ๆ ได้ โดยการนำเสนอเป็นงานเดี่ยว
    งานเดี่ยว ชิ้นที่ 2
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภาษาในสื่อใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E2: ต้องมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    10 รายงานเดี่ยวชิ้นที่ 2 นักศึกษาจะต้องค้นคว้าและวิเคราะห์ถึงลักษณะของภาษาในสื่อใหม่ พร้อมกับยกตัวอย่างประกอบให้เห็นชัดเจนนำเสนอเป็นรายงาน
    งานกลุ่ม
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องคุณลักษณะ ประเภท ของสื่อใหม่
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของภาษาในสื่อใหม่
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภาษาในสื่อใหม่
    • K4: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภาษาในสื่อ
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในความสำคัญของสื่อใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของภาษาในสื่อใหม่
    • E1: นักศึกษาต้องตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน
    • E2: ต้องมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่าของการเปลี่ยนแปลงทางภาษา
    30 เป็นการนำเสนองานกลุ่ม ด้วยการวิเคราะห์พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของภาษาในสื่อใหม่ พร้อมกับนำเสนอหน้าห้อง
    สอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องคุณลักษณะ ประเภท ของสื่อใหม่
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของภาษาในสื่อใหม่
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภาษาในสื่อใหม่
    • K4: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภาษาในสื่อ
    • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในความสำคัญของสื่อใหม่
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของภาษาในสื่อใหม่
    • E1: นักศึกษาต้องตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน
    • E2: ต้องมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่าของการเปลี่ยนแปลงทางภาษา
    30 เป็นการสอบเพื่อวัดความรู้ทั้งหมดที่ได้ศึกษามา
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา สมิทธิ์ บุญชุติมา. (2552). รูปแบบและการใช้สื่อใหม่ (New Media) และ “ความใหม่” ของสื่อ. วารสารประชาสัมพันธ์และ การโฆษณา, 2(1). หน้า 145-156. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Tapscott, D.(1997). Growing Up Digital: The Rights of the Net Generation, New York: McGraw Hill. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Lister, M., & et al. (2009). New Media: A Critical Introduction, 2nd. NY : Routledge.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ลักษณะการใช้ภาษาบนสื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน.https://www.hu.ac.th/conference/proceedings/data/.pdf อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    YouTube การใช้ภาษาไทยในการสื่อสารบนโลกออนไลน์ https://krabongtan6213.wordpress.com/2016/07/29/thai-language-use-to-com-online/ อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)