Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS613411
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
English name
Foreign Languages in Thai Language
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
ไม่มี
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์อิศเรศ ดลเพ็ญ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์อิศเรศ ดลเพ็ญ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุและวิธีรับคำสำนวนภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับปรุงศัพท์ การบัญญัติศัพท์จากภาษาบาลีและสันสกฤต
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างคำในภาษาไทย และศัพท์สันนิษฐาน
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาบาลีและสันสกฤตในการตัดสินที่มาของคำศัพท์
    • นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อคำยืมและสำนวนภาษาต่างประเทศ
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีวินัยและมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
    • มีจรรยาบรรณของนักวิชาการ ไม่ลอกเลียนหรือขโมยผลงานวิชาการของผู้อื่น
    • มีการอ้างอิงผลงานวิชาการอย่างถูกต้อง
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    • นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    สาเหตุ วิธีการรับคำและสำนวนจากต่างประเทศ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย การปรับศัพท์ การบัญญัติศัพท์ การสร้างคำในภาษาไทยและศัพท์สันนิษฐาน
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Causes, methods of adoption of words and expressions from foreign languages; foreign languages in Thai; vocabulary adaptation, word coining, word formation and obscure words
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Flipped classroom
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 ชี้แจงรายละเอียดวิชา และวิธีการเรียน
    - ความหมายและขอบเขตภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุและวิธีรับคำสำนวนภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: มีวินัยและมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    บรรยาย เรื่อง ความหมายและขอบเขตภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ในห้องเรียน
    2-3 การรับภาษาต่างประเทศ
    - สาเหตุ
    - ความเป็นมา
    - การนำไปใช้
    - วิธีการรับและการเลือกรับ
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุและวิธีรับคำสำนวนภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: มีวินัยและมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยาย
    - อภิปรายและซักถาม
    - แบบฝึกหัด

    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน

    ในห้องเรียน
    4-6 ภาษาบาลีในภาษาไทย
    - ระบบเสียงพยัญชนะ
    - ระบบเสียงสระ
    - การสังเกตคำภาษาบาลีในภาษาไทย
    9
    • K5: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อคำยืมและสำนวนภาษาต่างประเทศ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E2: มีจรรยาบรรณของนักวิชาการ ไม่ลอกเลียนหรือขโมยผลงานวิชาการของผู้อื่น
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยาย
    - อภิปรายและซักถาม
    - แบบทดสอบย่อย

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน

    - บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    - ในห้องเรียน
    7-8 ภาษาสันสกฤตในภาษาไทย
    - ระบบเสียงพยัญชนะ
    - ระบบเสียงสระ
    6
    • K5: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อคำยืมและสำนวนภาษาต่างประเทศ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E2: มีจรรยาบรรณของนักวิชาการ ไม่ลอกเลียนหรือขโมยผลงานวิชาการของผู้อื่น
    • E3: มีการอ้างอิงผลงานวิชาการอย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยาย
    - อภิปรายและซักถาม
    - แบบทดสอบย่อย

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน

    - บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    - ในห้องเรียน
    9-10 ภาษาสันสกฤตในภาษาไทย (ต่อ)
    - การสังเกตภาษาสันสกฤตในภาษาไทย
    6
    • K5: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อคำยืมและสำนวนภาษาต่างประเทศ
    • K6: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E2: มีจรรยาบรรณของนักวิชาการ ไม่ลอกเลียนหรือขโมยผลงานวิชาการของผู้อื่น
    • E3: มีการอ้างอิงผลงานวิชาการอย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยาย
    - อภิปรายและซักถาม
    - แบบทดสอบย่อย

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน

    - บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    - ในห้องเรียน
    11-12 ภาษาเขมรในภาษาไทย และภาษาอื่น ๆ เช่น ภาษาอังกฤษ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี 6
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างคำในภาษาไทย และศัพท์สันนิษฐาน
    • K4: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาบาลีและสันสกฤตในการตัดสินที่มาของคำศัพท์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: มีวินัยและมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
    • E3: มีการอ้างอิงผลงานวิชาการอย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยาย
    - อภิปรายและซักถาม


    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน

    - บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    - ในห้องเรียน
    13 การปรับปรุงศัพท์และการบัญญัติศัพท์ 3
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับปรุงศัพท์ การบัญญัติศัพท์จากภาษาบาลีและสันสกฤต
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างคำในภาษาไทย และศัพท์สันนิษฐาน
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: มีวินัยและมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยาย
    - อภิปรายและซักถาม

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน

    - บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    - ในห้องเรียน
    14 การสร้างคำในภาษาไทยที่สัมพันธ์กับภาษาต่างประเทศและศัพท์สันนิษฐาน 3
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างคำในภาษาไทย และศัพท์สันนิษฐาน
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E2: มีจรรยาบรรณของนักวิชาการ ไม่ลอกเลียนหรือขโมยผลงานวิชาการของผู้อื่น
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยาย
    - อภิปรายและซักถาม
    - แบบทดสอบย่อย

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน

    - บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    - ในห้องเรียน
    15 การนำเสนอผลการค้นคว้า 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุและวิธีรับคำสำนวนภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับปรุงศัพท์ การบัญญัติศัพท์จากภาษาบาลีและสันสกฤต
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างคำในภาษาไทย และศัพท์สันนิษฐาน
    • K4: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาบาลีและสันสกฤตในการตัดสินที่มาของคำศัพท์
    • K5: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อคำยืมและสำนวนภาษาต่างประเทศ
    • K6: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: มีวินัยและมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
    • E2: มีจรรยาบรรณของนักวิชาการ ไม่ลอกเลียนหรือขโมยผลงานวิชาการของผู้อื่น
    • E3: มีการอ้างอิงผลงานวิชาการอย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    • C3: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - นักศึกษานำเสนอผลการค้นคว้า
    - อภิปรายและซักถาม

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน


    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    - ในห้องเรียน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • K6: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: มีวินัยและมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    10
    งานเดี่ยว และแบบฝึกหัด
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุและวิธีรับคำสำนวนภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับปรุงศัพท์ การบัญญัติศัพท์จากภาษาบาลีและสันสกฤต
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างคำในภาษาไทย และศัพท์สันนิษฐาน
    • K4: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาบาลีและสันสกฤตในการตัดสินที่มาของคำศัพท์
    • K5: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อคำยืมและสำนวนภาษาต่างประเทศ
    • K6: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: มีวินัยและมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
    • E2: มีจรรยาบรรณของนักวิชาการ ไม่ลอกเลียนหรือขโมยผลงานวิชาการของผู้อื่น
    • E3: มีการอ้างอิงผลงานวิชาการอย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    • C3: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
    20
    งานกลุ่ม
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุและวิธีรับคำสำนวนภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับปรุงศัพท์ การบัญญัติศัพท์จากภาษาบาลีและสันสกฤต
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างคำในภาษาไทย และศัพท์สันนิษฐาน
    • K4: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาบาลีและสันสกฤตในการตัดสินที่มาของคำศัพท์
    • K5: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อคำยืมและสำนวนภาษาต่างประเทศ
    • K6: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: มีวินัยและมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
    • E2: มีจรรยาบรรณของนักวิชาการ ไม่ลอกเลียนหรือขโมยผลงานวิชาการของผู้อื่น
    • E3: มีการอ้างอิงผลงานวิชาการอย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    • C3: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
    20
    สอบกลางภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุและวิธีรับคำสำนวนภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับปรุงศัพท์ การบัญญัติศัพท์จากภาษาบาลีและสันสกฤต
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างคำในภาษาไทย และศัพท์สันนิษฐาน
    • K4: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาบาลีและสันสกฤตในการตัดสินที่มาของคำศัพท์
    • K5: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อคำยืมและสำนวนภาษาต่างประเทศ
    • K6: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: มีวินัยและมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
    • E2: มีจรรยาบรรณของนักวิชาการ ไม่ลอกเลียนหรือขโมยผลงานวิชาการของผู้อื่น
    • E3: มีการอ้างอิงผลงานวิชาการอย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    • C3: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
    20
    สอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุและวิธีรับคำสำนวนภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับปรุงศัพท์ การบัญญัติศัพท์จากภาษาบาลีและสันสกฤต
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างคำในภาษาไทย และศัพท์สันนิษฐาน
    • K4: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาบาลีและสันสกฤตในการตัดสินที่มาของคำศัพท์
    • K5: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อคำยืมและสำนวนภาษาต่างประเทศ
    • K6: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: มีวินัยและมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
    • E2: มีจรรยาบรรณของนักวิชาการ ไม่ลอกเลียนหรือขโมยผลงานวิชาการของผู้อื่น
    • E3: มีการอ้างอิงผลงานวิชาการอย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
    • C3: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
    30
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา ทองสุก เกตุโรจน์. (2554). ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. อาจารย์ภายนอกคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา กำชัย ทองหล่อ. 2533. หลักภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: บำรุงสาส์น. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา นววรรณ พันธุเมธา. ไวยากรณ์ไทย. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา บรรจบ พันธุเมธา. 2546. ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วนิดา บำรุงไทย และศิริพร มณีชูเกตุ. “ธรรมชาติของภาษาและลักษณะภาษาไทย,” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 11, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2546) : 29-40. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา อภิชาญ ปานเจริญ. 2532. บาลีสันสกฤตเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. ทฤษฎีไวยากรณ์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)