Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS422401
ภาษาไทย
Thai name
โลกาภิวัตน์กับสังคมโลก
ภาษาอังกฤษ
English name
Globalization and World Society
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2567)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กีรติพร จูตะวิริยะ
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กีรติพร จูตะวิริยะ
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดโลกาภิวัตน์ในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
  • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
จริยธรรม
Ethics
  • ตระหนักถึงจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ทักษะ
Skills
  • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
ลักษณะบุคคล
Character
  • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
     Description of Subject Course/Module
ภาษาไทย
Thai
แนวคิดเกี่ยวกับโลกาภิวัตน์ด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม รูปแบบของโลกาภิวัตน์ในสังคมสมัยใหม่ การพัฒนาสื่อและการสื่อสารในยุคโลกาภิวัตน์ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมในภาวะโลกาภิวัตน์
ภาษาอังกฤษ
English
Concept of globalization in economic, social and cultural aspects; forms of globalization in modern society; media development and communication in globalized world; impact of socio-cultural change in globalization
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
     Delivery mode and Learning management Method
รูปแบบ
Delivery mode
  • Classroom-based learning
  • Blended learning
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
Learning management Method
  • Project-based learning
  • Case discussion
7. แผนการจัดการเรียนรู้
     Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
หัวข้อการสอน
Teaching topics
จํานวน
ชั่วโมง
Number of hours
CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1 - แนะนำรายวิชา ตกลงการเรียนการสอน และชี้แจงเกี่ยวกับรายวิชา วิธีการเรียน การแบ่งกลุ่ม และการประเมินผล 3
  • E1: ตระหนักถึงจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
  • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
1. อาจารย์พบนักศึกษาเพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานผ่านออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน
2. อาจารย์บรรยายขอบข่ายความรับผิดชอบลักษณะรายวิชาและรายงานเกี่ยวกับโลกาภิวัตน์ผ่าน VDO clips
3. ยกตัวอย่างชิ้นงานที่ผ่านมาซึ่งเป็นผลลัพธ์ของรายวิชาเป็นไฟล์ PDF ให้นักศึกษาเข้าไปดูในระบบ KKU e-Learning
4. แนะนำเอกสาร สื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการเรียนการสอน และเพื่อการค้นคว้าด้วยตนเองของนักศึกษา โดยส่งลิงค์ให้นักศึกษาเข้าไปดูในระบบ KKU e-Learning
5. ตอบข้อซักถามของนักศึกษา
2 บทที่ 1 บทนำ แนวคิดเกี่ยวกับขอบข่ายของโลกาภิวัตน์กับสังคมโลก
1.1 ความหมาย แนวคิดและข้อถกเถียงเกี่ยวกับโลกาภิวัตน์ในสังคมโลกปัจจุบัน
1.2 ความสัมพันธ์ของโลกาภิวัตน์กับสังคมโลก
1.3 กระบวนการแห่งโลกาภิวัตน์
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดโลกาภิวัตน์ในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
- แจกเอกสารรายละเอียดของรายวิชา
- บรรยายและอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- แนะนำความรู้พื้นฐาน ประเด็นโลกาภิวัตน์กับสังคมโลก
3 บทที่ 2 แนวคิดเกี่ยวกับโลกาภิวัตน์ด้านเศรษฐกิจและสังคม
2.1 แนวคิดโลกาภิวัตน์ในมิติเศรษฐกิจและสังคม
2.2 โลกาภิวัตน์กับการเปลี่ยแปลงของการเมืองเศรษฐกิจโลก
2.3 ภูมิภาคาวิภิวัตน์ ภูมิภาคนิยม กับองค์การฯ และความร่วมมือระดับภูมิภาคในโลก
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดโลกาภิวัตน์ในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
- ร่วมกันอภิปราย บทความที่ให้ในคาบเรียนที่แล้ว และเน้นการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
- บรรยายและอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
4 บทที่ 3 แนวคิดเกี่ยวกับโลกาภิวัตน์ทางด้านวัฒนธรรม
3.1 แนวคิดโลกาภิวัตน์มิติทางด้านวัฒนธรรม
3.2 การทำวัฒนธรรมให้เป็นสินค้า
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดโลกาภิวัตน์ในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
  • E1: ตระหนักถึงจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
- มอบหมายงานกิจกรรมกลุ่มให้ศึกษาในชั้นเรียน
- อภิปรายและการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
5 บทที่ 4 รูปแบบของโลกาภิวัตน์ในสังคมสมัยใหม่
4.1 บทบาทใหม่แห่งสื่อในยุคโลกาภิวัตน์
4.2 อิทธิพลการสื่อสารในยุคสมัยใหม่
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดโลกาภิวัตน์ในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
- อภิปรายและการ เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
- มอบหมายให้ นักศึกษาสังเคราะห์ ความรู้และอภิปรายสรุปประเด็นสำคัญ
6 บทที่ 5 เพศสภาพกับความไม่เป็นธรรมทางเพศในภาวะโลกาภิวัตน์
5.1 สตรีเพศกับการจ้างงาน
5.2 ความไม่เป็นธรรมและความรุนแรงต่อสตรี
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
-บรรยาย อภิปราย งานที่ไปศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเองและแลกเปลี่ยนกับเพื่อน

- โดยนักศึกษามี ส่วนร่วมในการ อภิปรายแสดงความคิดเห็นและค้นคว้าด้วยตัวเองได้
7 บทที่ 6 การปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยม
6.1 พัฒนาการทางแนวคิดท้องถิ่นนิยม
6.2 ปฏิสัมพันธ์ของคนในท้องถิ่นกับภาวะโลกาภิวัตน์
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดโลกาภิวัตน์ในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
- โดยนักศึกษามีส่วนร่วมในการ อภิปรายแสดงความคิดเห็นและค้นคว้าด้วยตัวเองได้
- มอบหมายงานกิจกรรมกลุ่มให้ศึกษา อภิปรายและการ เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม

8 บทที่ 7 การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในยุคโลกาภิวัตน์และอิทธิพลต่อสังคม
7.1 การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในยุคโลกาภิวัตน์
7.2 ผลกระทบของโลกาภิวัตน์ที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดโลกาภิวัตน์ในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
  • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
- อภิปรายและสรุปประเด็นจากการอ่าน บทความและ วิเคราะห์ประกอบ เนื้อหาสาระ
- การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
9 บทที่ 8 การท่องเที่ยวในบริบทโลกาภิวัตน์
8.1 การขยายตัวทางการท่องเที่ยวในโลกาภิวัตน์ปัจจุบัน
8.2 ผลกระทบที่มีต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในโลกาภิวัตน์
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
  • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
- บรรยาย อภิปรายและสรุปประเด็นจากการอ่าน บทความและ วิเคราะห์ประกอบเนื้อหาสาระ
- การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
10 บทที่ 9 ภาคประชาสังคมในยุคโลกาภิวัตน์
9.1 ขบวนการประชาสังคมในสังคม
9.2 ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมกับภาคประชาสังคม
9.3 การสร้างความเข้มแข็งในภาคประชาสังคมของประเทศไทย
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • E1: ตระหนักถึงจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
  • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
-อภิปราย สรุปประเด็นจากการอ่าน บทความวิชาการและ วิเคราะห์ประกอบเนื้อหาสาระ
-การศึกษาค้นคว้า ด้วยตัวเอง
11 บทที่ 10 สังคมความเสี่ยงยุคโลกาภิวัตน์
10.1 สังคมความเสี่ยงในปัจจุบัน
10.2 การแพร่กระจายการใช้ยาเสพติดในยุคโลกาภิวัตน์
10.3 ความเสี่ยงในเรื่องการระบาด
10.4 ความเสี่ยงทางด้านสาธารณสุขและสุขภาวะ
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
- บรยาย อภิปราย และเน้นการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
-การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
- โดยนักศึกษามี ส่วนร่วมในการ อภิปรายแสดงความคิดเห็นและค้นคว้าด้วยตัวเองได้
12 บทที่ 11 โลกาภิวัตน์กับการจัดการสิ่งแวดล้อมและการดำรงชีพในสังคมสมัยใหม่
11.1 การเปลี่ยนแปลงและปัญหาสิ่งแวดล้อมในสังคมปัจจุบัน
11.2 การปรับตัวในการดำรงชีพของชุมชนในสังคมสมัยใหม่
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
- อภิปราย การ เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและนำเสนอผลการศึกษา
-วิเคราะห์ในประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมและการดำรงชีพที่เกิดขึ้นในสังคมโลกาภิวัตน์ปัจจุบัน
13 บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลงวิถีการบริโภคในสังคมโลกาภิวัตน์
12.1 การเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ทางความคิดเรื่องการบริโภคในสังคมปัจจุบัน
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดโลกาภิวัตน์ในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-อภิปรายแสดง ความคิดเห็น วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงวิถีการบริโภคในปัจจุบันที่เกิดขึ้นในสังคม
14 บทที่ 13 ผลกระทบจากการพัฒนาเศรษฐกิจในโลกาภิวัตน์ต่อการจ้างงานและแรงงานข้ามชาติ
13.1 ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและแรงงานในโลกาภิวัตน์
13.2 กรณีศึกษา การย้ายถิ่นข้ามชาติของแรงงานต่างชาติ
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดโลกาภิวัตน์ในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
-บรรยาย ศึกษากรณีศึกษา อภิปรายแสดง ความคิดเห็น และ สังเคราะห์กรณีศึกษาในประเด็นการเปลี่ยนแปลงการย้ายถิ่นข้ามชาติของแรงงานข้ามชาติ
15 บทที่ 14 สรุปและสังเคราะห์องค์ความรู้ในยุคโลกาภิวัตน์
14.1 สรุปทางความคิดในประเด็นเกี่ยวกับภาวะโลกาภิวัตน์
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
  • E1: ตระหนักถึงจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
  • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
-นำเสนองาน และอภิปรายในหัวข้อที่ไปศึกษาค้นคว้า
-ร่วมแสดงความคิด เห็น วิเคราะห์ และ สังเคราะห์นัยทางการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในประเด็นปัจจุบัน
รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
     Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
CLO สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
หมายเหตุ
Note
การการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน โดยมาเรียนสม่ำเสมอ มีส่วนร่วมในการตั้งคำถาม แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนในการเรียนแต่ละครั้งอย่างสม่ำเสมอมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
  • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
10
สอบกลางภาค
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดโลกาภิวัตน์ในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
30
สอบปลายภาค
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
  • E1: ตระหนักถึงจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
30
งานกลุ่ม
-รายงานผลงานทางวิชาการที่ได้ศึกษาจากงานทางวิชาการอย่างสรุป
พร้อมทั้งวิจารณ์กับเนื้อหาสาระและข้อมูล/ข้อค้นพบดังกล่าว/วิพากษ์โต้แย้ง ในประเด็นเกี่ยวกับภาวะโลกาภิวัตน์ (โดยการประเมินคุณภาพเนื้อหารายงาน 15%) จากความลึกซึ้งของการวิเคราะห์ ทั้งเนื้อหา ความทันสมัยของเอกสารที่ใช้ในการทบทวน คุณภาพการเรียบเรียง การส่งงานตรงต่อเวลา และการนำเสนอ 5%
-สรุปมาไม่เกิน 15 หน้า A4 ส่งรายงานตามกำหนดที่มีการตกลงไว้กับอาจารย์ผู้สอน การส่งช้ากว่ากำหนด จะถูกหักคะแนนส่วนคุณภาพรายงาน 3 %)
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดโลกาภิวัตน์ในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • E1: ตระหนักถึงจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
20
งานเดี่ยว
งานสรุปวิเคราะห์และสังเคราะห์สื่อด้านโลกาภิวัตน์
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในภาวะโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลกปัจจุบัน
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
  • E1: ตระหนักถึงจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
  • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
10
สัดส่วนคะแนนรวม 100
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
     Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา
Type
รายละเอียด
Description
ประเภทผู้แต่ง
Author
ไฟล์
File
หนังสือ หรือ ตำรา ตำราและเอกสารหลัก
กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน. (2551). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมือง
กับสื่อสารศึกษา. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์.
เกษียร เตชะพีระ. (2538). วิวาทะโลกานุวัตร์. กรุงเทพฯ: ผู้จัดการ.
ฉันทนา บรรพศิริโชติ และสุริชัย หวันแก้ว (บก.การแปล). (2539). ศัพท์การพัฒนา: คู่มือความรู้สู่อำนาจ.
กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธีรยุทธ บุญมี. (2538). วิกฤติมนุษย์ยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ : วัลยา.
พงษ์เทพ สันติกุล. (2549). จุดกำเนิดรัฐสวัสดิการในสยาม. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคม
สงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พัฒนา กิติอาษา. (2546). ท้องถิ่นนิยม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอเอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
ภัสสร ลิมานนท์ และคณะ. (2539). สรปุผลวิจัยเบื้องต้น โครงการศึกษาครอบครัวไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภูษณ ปรีย์มาโนช. (2544). ฝ่าหนามกุหลาบโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ : ภัคธรรศ.
มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด. (2552). โลกาภิวัตน์: อานิสงส์ถ้วนหน้า?. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ยุค ศรีอาริยะ. (2539). โลกาวิวัฒน์ 2000. กรุงเทพฯ : ไอโอนิค อินเตอร์เทรด รีซอสเซส.
ยุค ศรีอาริยะ. (2541). มายาโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ : โครงการวิถีทรรศน์.
รุจา ภู่ไพบูลย์ และนิตยา คชภักดี. (2539). การเปลี่ยนแปลงลักษณะครอบครัวไทย : ผลกระทบต่อความผาสุกของครอบครัว เอกสารประกอบการสัมมนาวิจัย เรื่อง ครอบครัวศึกษา : การวิจัยเพื่อความผาสุกของครอบครัวไทย. ภายใต้การสนับสนุนของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 1 พฤศจิกายน 2539 ณ โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพมหานคร.
รุจา ภู่ไพบูลย์, จริยา วิทยะศุภร และ ศิริวรรณ ไกรสุรพงศ์. (2542). ผลกระทบของภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ต่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว และความต้องการความช่วยเหลือ. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
วัฒนา สุกัณศีล. (2548). โลกาภิวัตน์ = Globalization. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา.
ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์. (บรรณาธิการ). (2544). ทฤษฎีและความรู้ในยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ : วิถีทรรศน์,
สามชาย ศรีสันต์. (2541). ความเป็นปึกแผ่นในความสัมพันธ์ระหว่างบุตรผู้เป็นแรงงานย้ายถิ่นกับ บิดามารดา : การศึกษาตามแนวทฤษฎีการแลกเปลี่ยน. วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สาขาสังคมวิทยา) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สังศิต พิริยะรังสรรค์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร. (บรรณาธิการ). (2538). โลกาภิวัตน์กับสังคมเศรษฐกิจไทย.
กรุงเทพฯ : ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภางค์ จันทวานิช. (2551). ทฤษฎีสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุริชัย หวันแก้ว. (2543). โลกาภิวัตน์กับแก่นสารของสังคมวิทยา. วารสารสังคมศาสตร์
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 12(2): 15-42.
สุริยา สมุทคุปติ์ พัฒนา กิติอาษา. (2542). มานุษยวิทยากับโลกาภิวัตน์ : รวมบทความ = Anthropology and globalization : Thai experiences. นครราชสีมา : ห้องไทยศึกษานิทัศน์ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
อุไรวรรณ ธนสถิตย์. (2546). สังคมไทยยุคโลกาภิวัตน์ : อำนาจ การเมือง และสังคม. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
Bryjak, G. J., and M. P. Soroka. (2001). Sociology: Changing Societies in a diverse World. 4th edition. USA: Allyn and Bacon.
Cohen, Daniel. (2007). Globalization and its enemies. Translated by Jessica B. Baker. Cambridge: The MIT Press.
Cohen, Robin, and Paul Kennedy. (2007). Global Sociology. 2nd edition. New York: Palgrave Macmillan.
Dirlik, Arif. “Globalization as the End and the Beginning of History: The Contradictory Implications of a New Paradigm.” http://www.humanities.mcmaster.ca/~global/workpapers/dirlik.pdf.
Giddens, A. (1992). Modernity and Self Identity: Self and Society in the Late Modern Age. Cambridge:
Polity Press. Giddens, A. (2006). Sociology. 5th edition. Cambridge: Polity Press.
Giddens, A.; Mitchell Duneier and Richard P. Appelbaum. (2006). Essentials of Sociology. New York: W.W.
Norton and Company.
Jan Aart Scholte. (2005). The Sources of Neoliberal Globalization. Switzerland : This United Nations Research Institute for Social Development (UNRISD).
John B.Thomson. (1990). Ideology and Modern Culture, Critical Social Theory in the Era of
Mass Communication. Cambridge: Policy Press.
Mandle, Jay R. (2003). Globalization and the Poor. Cambridge: Cambridge University Press.
Robertson, Roland. (1992). Globalization: Social Theory and Global Culture. London:
Sage Publication.
Scholte JA. (2000). Globalisation: A Critical Introduction. Palgrave.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
     Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
Evaluation of course effectiveness and validation
  • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
  • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
Improving Course instruction and effectiveness
  • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
  • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ