Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Information Science
สาขาวิชา
Field
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2567
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2568
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS212104
ภาษาไทย
Thai name
การจัดสารสนเทศและความรู้
ภาษาอังกฤษ
English name
Information & Knowledge Organization
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
12(9-6-21)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวรรณี ห้วยหงษ์ทอง
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาทิพย์ ไชยกำบัง
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวรรณี ห้วยหงษ์ทอง
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมเพ็ชร จุลลาบุดดี
    • อาจารย์นลัทพา หรรษาพันธุ์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดสารสนเทศและความรู้
    • ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับหลักและระบบการจัดสารสนเทศและความรู้
    • ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บและทำรายการสารสนเทศและความรู้
    • ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้
    • ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้
    จริยธรรม
    Ethics
    • ผู้เรียนอ้างถึง (Refer to) หลักคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงาน แสดงออกถึงความรับผิดชอบในการเรียน โดยสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • ผู้เรียนตอบสนองต่อ (Respond to) การปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ได้อย่างถูกต้องหลีกเลี่ยงการกระทำสิ่งที่ผิดกฎกติกาของสังคม และกฎหมาย
    ทักษะ
    Skills
    • ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดหมวดหมู่จากการปฏิบัติ
    • ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการจัดหมวดหมู่จากการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดระบบการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ
    • ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะระบบการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ จากการปฏิบัติ
    • ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดเครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศจากการปฏิบัติ
    • ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะเครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ
    • ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้ในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • ผู้เรียนแสดง (Show) ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน
    • ผู้เรียนแสดง (Show) ความคิดสร้างสรรค์ในงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม
    • ผู้เรียนแสดง (Show) บุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย ที่สะท้อนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ทฤษฎีการจัดหมวดหมู่ ระบบการจัดสารสนเทศและความรู้ การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ การประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้ ทักษะและคุณลักษณะที่จำเป็นต่อการจัดสารสนเทศและความรู้ การเรียนรู้แบบบูรณาการปฏิบัติงาน ด้วยการฝึกหัดงาน หรือ การทำโครงงานรวบยอด
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Classification theory, Information and knowledge organization systems, Information storage and retrieval, information access tools, applications of digital technology for information and knowledge organization, essential skills and attributes for information and knowledge organization, work integrated learning by internships or capstone project
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    • Work integrated learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Problem-based learning
    • Project-based learning
    • Flipped classroom
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    สัปดาห์ที่ 1-6 Topic 1 ความหมาย แนวคิด กระบวนการ และหน้าที่การจัดสารสนเทศและความรู้
    1. ความหมาย แนวคิด กระบวนการ และหน้าที่การจัดสารสนเทศและความรู้
    2. แนวทาง (วิธีการ) การจัดสารสนเทศและความรู้
    3. แนวคิดการวิเคราะห์และสร้างตัวแทนสารสนเทศและความรู้ เพื่อจัดสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลขององค์กรธุรกิจ
    3.1 การกำหนดลักษณะของสารสนเทศและความรู้
    3.2 การวิเคราะห์ลักษณะกายภาพ และเนื้อหาสาระสารสนเทศและความรู้
    3.3 การสร้างตัวแทนสารสนเทศและความรู้
    36 48
    • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดสารสนเทศและความรู้
    • S1: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดหมวดหมู่จากการปฏิบัติ
    • S2: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการจัดหมวดหมู่จากการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • E1: ผู้เรียนอ้างถึง (Refer to) หลักคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงาน แสดงออกถึงความรับผิดชอบในการเรียน โดยสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • E2: ผู้เรียนตอบสนองต่อ (Respond to) การปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ได้อย่างถูกต้องหลีกเลี่ยงการกระทำสิ่งที่ผิดกฎกติกาของสังคม และกฎหมาย
    • C1: ผู้เรียนแสดง (Show) ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน
    • C2: ผู้เรียนแสดง (Show) ความคิดสร้างสรรค์ในงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม
    • C3: ผู้เรียนแสดง (Show) บุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย ที่สะท้อนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน:
    บรรยาย/ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา/อภิปรายกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และฝึกปฏิบัติปฏิบัติการออกแบบและพัฒนาแบบแผนระบบการจัดสารสนเทศและความรู้

    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน:
    สอนภาคทฤษฎีด้วยชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน เอกสารประกอบสอน และวิดีโอคลิปประกอบการบรรยาย ผ่าน https://e-learning.kku.ac.th/ รายวิชา HS212104 ::
    การจัดสารสนเทศและความรู้

    3. ช่องทางการสอน:
    การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน/และหรือการจัดการเรียนรู้ผ่านระบบจัดการการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต (Learning Management System) : Google classroom หรือผ่านโปรแกรมประชุมทางไกล: Zoom
    สัปดาห์ที่ 7-11 Topic 2 ระบบการจัดสารสนเทศและความรู้
    1. แนวคิด ทฤษฎี ระบบการจัดสารสนเทศและความรู้
    2. ประเภท แบบแผนของระบบการจัดสารสนเทศและความรู้
    -Taxonomy; Dewey Decimal Classification System; Library of Congress Classification System; Faceted Classification System; Institution’s Business Classification Scheme ; Records classification scheme ; Business classification scheme; functions thesaurus
    3. วิธีการ เทคนิค การประยุกต์ใช้ระบบการจัดสารสนเทศและความรู้ในสภาพแวดล้อมการทำงานด้านสารสนเทศดิจิทัลขององค์กรธุรกิจ
    45 60
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับหลักและระบบการจัดสารสนเทศและความรู้
    • S3: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดระบบการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ
    • S4: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะระบบการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • E1: ผู้เรียนอ้างถึง (Refer to) หลักคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงาน แสดงออกถึงความรับผิดชอบในการเรียน โดยสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • E2: ผู้เรียนตอบสนองต่อ (Respond to) การปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ได้อย่างถูกต้องหลีกเลี่ยงการกระทำสิ่งที่ผิดกฎกติกาของสังคม และกฎหมาย
    • C1: ผู้เรียนแสดง (Show) ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน
    • C2: ผู้เรียนแสดง (Show) ความคิดสร้างสรรค์ในงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม
    • C3: ผู้เรียนแสดง (Show) บุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย ที่สะท้อนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน:
    บรรยาย/ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา/อภิปรายกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และฝึกปฏิบัติปฏิบัติการออกแบบและพัฒนาแบบแผนระบบการจัดสารสนเทศและความรู้

    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน:
    สอนภาคทฤษฎีด้วยชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน เอกสารประกอบสอน และวิดีโอคลิปประกอบการบรรยาย ผ่าน https://e-learning.kku.ac.th/ รายวิชา HS212104 ::
    การจัดสารสนเทศและความรู้

    3. ช่องทางการสอน:
    การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน/และหรือการจัดการเรียนรู้ผ่านระบบจัดการการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต (Learning Management System) : Google classroom หรือผ่านโปรแกรมประชุมทางไกล: Zoom
    สัปดาห์ที่ 12-18 Topic 3 เมทาดาทาและมาตรฐานการลงรายการสารสนเทศและความรู้
    1. แนวคิดเมทาดาทา หน้าที่ ประเภทเมทาดาทา
    2. แบบแผนของเมทาดาทา ISBD;AACR2;RDA;MARC; Metadata (Dublin Core; มาตรฐาน Recordkeeping Metadata (The Australian Recordkeeping Metadata Schema ; Minnesota Recordkeeping ;Metadata Standard; Queensland ;Recordkeeping Metadata Standard
    3. มาตรฐานในการจัดทำคำอธิบายเอกสารจดหมายเหตุ ( MARC AMC; MAD;RAD; ISAD(G); EAD; ISAAR CPF):(PREMIS;OAI)
    4. เมทาดาทาสำหรับสารสนเทศและความรู้ธุรกิจ (Business Metadata)
    5. การใช้เมทาดาทา (Search; Browse; Contextual Linking; Aggregation; Syndication; Access Permission; Personalized Content; Advanced Functionality)
    6. การพัฒนาเมทาดาทา
    6.1 โมเดลการพัฒนาเมทาดาทา (FRBR Model)
    6.2 การพัฒนาเมทาดาทาสารสนเทศดิจิทัลขององค์กรธุรกิจ
    54 72
    • K3: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บและทำรายการสารสนเทศและความรู้
    • S5: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ จากการปฏิบัติ
    • S6: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • E1: ผู้เรียนอ้างถึง (Refer to) หลักคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงาน แสดงออกถึงความรับผิดชอบในการเรียน โดยสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • E2: ผู้เรียนตอบสนองต่อ (Respond to) การปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ได้อย่างถูกต้องหลีกเลี่ยงการกระทำสิ่งที่ผิดกฎกติกาของสังคม และกฎหมาย
    • C1: ผู้เรียนแสดง (Show) ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน
    • C2: ผู้เรียนแสดง (Show) ความคิดสร้างสรรค์ในงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม
    • C3: ผู้เรียนแสดง (Show) บุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย ที่สะท้อนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน:
    บรรยาย/ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา/อภิปรายกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และฝึกปฏิบัติปฏิบัติการออกแบบและพัฒนาแบบแผนระบบการจัดสารสนเทศและความรู้

    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน:
    สอนภาคทฤษฎีด้วยชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน เอกสารประกอบสอน และวิดีโอคลิปประกอบการบรรยาย ผ่าน https://e-learning.kku.ac.th/ รายวิชา HS212104 ::
    การจัดสารสนเทศและความรู้

    3. ช่องทางการสอน:
    การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน/และหรือการจัดการเรียนรู้ผ่านระบบจัดการการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต (Learning Management System) : Google classroom หรือผ่านโปรแกรมประชุมทางไกล: Zoom
    สัปดาห์ที่ 19 - 24 Topic 4 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
    1. หลักการและแนวคิดเครื่องมือและการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้: Keywords; Folksonomy; Indexing; Subject Heading: Thesaurus; ontology
    2. การพัฒนาเครื่องมือและการเข้าถึงสารสนเทศ: Keywords; Folksonomy; Indexing; Subject Heading: Thesaurus; ontology
    3. SEO (Search Engine Optimization) กับเมทาดาทา
    4. การกำหนดรายการการเข้าถึงสารสนเทศและการควบคุมคำศัพท์ (Access Points and Vocabulary Control) ขององค์กรธุรกิจ
    5. การพัฒนาออนโทโลยี
    54 72
    • K4: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้
    • S7: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดเครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศจากการปฏิบัติ
    • S8: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะเครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • E1: ผู้เรียนอ้างถึง (Refer to) หลักคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงาน แสดงออกถึงความรับผิดชอบในการเรียน โดยสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • E2: ผู้เรียนตอบสนองต่อ (Respond to) การปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ได้อย่างถูกต้องหลีกเลี่ยงการกระทำสิ่งที่ผิดกฎกติกาของสังคม และกฎหมาย
    • C1: ผู้เรียนแสดง (Show) ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน
    • C2: ผู้เรียนแสดง (Show) ความคิดสร้างสรรค์ในงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม
    • C3: ผู้เรียนแสดง (Show) บุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย ที่สะท้อนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน:
    บรรยาย/ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา/อภิปรายกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำโครงงานการจัดสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลขององค์กรธุรกิจ

    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน:
    สอนภาคทฤษฎีด้วยชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน เอกสารประกอบสอน และวิดีโอคลิปประกอบการบรรยาย ผ่าน https://e-learning.kku.ac.th/ รายวิชา HS212104 :: การจัดสารสนเทศและความรู้ และกรณีศึกษา, ตัวอย่างของโครงงานการจัดสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลขององค์กรธุรกิจ

    3. ช่องทางการสอน:
    การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน/และหรือการจัดการเรียนรู้ผ่านระบบจัดการการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต (Learning Management System) : Google classroom หรือผ่านโปรแกรมประชุมทางไกล: Zoom
    สัปดาห์ที่ 25 - 33 Topic 5 การประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้
    1. การประยุกต์ใช้ User Experience (UX) และ User Interface (UI) ในงานการจัดสารสนเทศและความรู้
    2. เครื่องมือสำหรับสร้างและออกแบบเว็บ
    3. ระบบการจัดการเนื้อหาเว็บไซต์
    4. ภาษาสำหรับการจัดการเนื้อหาเว็บ (SGML, HTML, XML)
    5. SEO (Search Engine Optimization)
    72 96
    • K5: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้
    • S9: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ
    • S10: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้ในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • E1: ผู้เรียนอ้างถึง (Refer to) หลักคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงาน แสดงออกถึงความรับผิดชอบในการเรียน โดยสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • E2: ผู้เรียนตอบสนองต่อ (Respond to) การปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ได้อย่างถูกต้องหลีกเลี่ยงการกระทำสิ่งที่ผิดกฎกติกาของสังคม และกฎหมาย
    • C1: ผู้เรียนแสดง (Show) ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน
    • C2: ผู้เรียนแสดง (Show) ความคิดสร้างสรรค์ในงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม
    • C3: ผู้เรียนแสดง (Show) บุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย ที่สะท้อนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน:
    บรรยาย/ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา/อภิปรายกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำโครงงานการจัดสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลขององค์กรธุรกิจ

    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน:
    สอนภาคทฤษฎีด้วยชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน เอกสารประกอบสอน และวิดีโอคลิปประกอบการบรรยาย ผ่าน https://e-learning.kku.ac.th/ รายวิชา HS212104 :: การจัดสารสนเทศและความรู้ และกรณีศึกษา, ตัวอย่างของโครงงานการจัดสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลขององค์กรธุรกิจ

    3. ช่องทางการสอน:
    การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน/และหรือการจัดการเรียนรู้ผ่านระบบจัดการการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต (Learning Management System) : Google classroom หรือผ่านโปรแกรมประชุมทางไกล: Zoom
    สัปดาห์ที่ 34 - 36 การบรรยาย/ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา/อภิปรายกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำโครงงานการจัดสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลขององค์กรธุรกิจ และนำเสนอโครงงานกลุ่ม (Capstone Project) การจัดสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลขององค์กรธุรกิจ
    18 24
    • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดสารสนเทศและความรู้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับหลักและระบบการจัดสารสนเทศและความรู้
    • K3: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บและทำรายการสารสนเทศและความรู้
    • K4: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้
    • K5: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้
    • S1: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดหมวดหมู่จากการปฏิบัติ
    • S2: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการจัดหมวดหมู่จากการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S3: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดระบบการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ
    • S4: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะระบบการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S5: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ จากการปฏิบัติ
    • S6: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S7: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดเครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศจากการปฏิบัติ
    • S8: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะเครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S9: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ
    • S10: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้ในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • E1: ผู้เรียนอ้างถึง (Refer to) หลักคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงาน แสดงออกถึงความรับผิดชอบในการเรียน โดยสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • E2: ผู้เรียนตอบสนองต่อ (Respond to) การปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ได้อย่างถูกต้องหลีกเลี่ยงการกระทำสิ่งที่ผิดกฎกติกาของสังคม และกฎหมาย
    • C1: ผู้เรียนแสดง (Show) ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน
    • C2: ผู้เรียนแสดง (Show) ความคิดสร้างสรรค์ในงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม
    • C3: ผู้เรียนแสดง (Show) บุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย ที่สะท้อนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน:
    บรรยาย/ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา/อภิปรายกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    และฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์และสร้างตัวแทนสารสนเทศและความรู้เพื่อจัดสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลขององค์กรธุรกิจ

    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน:
    สอนภาคทฤษฎีด้วยชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน เอกสารประกอบสอน และวิดีโอคลิปประกอบการบรรยาย ผ่าน https://e-learning.kku.ac.th/ รายวิชา HS212104 ::
    การจัดสารสนเทศและความรู้

    3. ช่องทางการสอน:
    การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน/และหรือการจัดการเรียนรู้ผ่านระบบจัดการการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต (Learning Management System) : Google classroom หรือผ่านโปรแกรมประชุมทางไกล: Zoom
    รวมจำนวนชั่วโมง 279 372
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถามการร่วมกิจกรรม และความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ทุกครั้งในแต่ละหัวข้อ
    • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดสารสนเทศและความรู้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับหลักและระบบการจัดสารสนเทศและความรู้
    • K3: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บและทำรายการสารสนเทศและความรู้
    • K4: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้
    • K5: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้
    • S1: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดหมวดหมู่จากการปฏิบัติ
    • S2: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการจัดหมวดหมู่จากการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S3: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดระบบการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ
    • S4: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะระบบการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S5: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ จากการปฏิบัติ
    • S6: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S7: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดเครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศจากการปฏิบัติ
    • S8: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะเครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S9: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ
    • S10: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้ในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • E1: ผู้เรียนอ้างถึง (Refer to) หลักคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงาน แสดงออกถึงความรับผิดชอบในการเรียน โดยสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • E2: ผู้เรียนตอบสนองต่อ (Respond to) การปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ได้อย่างถูกต้องหลีกเลี่ยงการกระทำสิ่งที่ผิดกฎกติกาของสังคม และกฎหมาย
    • C1: ผู้เรียนแสดง (Show) ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน
    • C2: ผู้เรียนแสดง (Show) ความคิดสร้างสรรค์ในงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม
    • C3: ผู้เรียนแสดง (Show) บุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย ที่สะท้อนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
    20 ตลอดปีการศึกษา
    การทำงานกลุ่มและการทำแบบฝึกปฏิบัติแบบกลุ่มในแต่ละหัวข้อ
    • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดสารสนเทศและความรู้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับหลักและระบบการจัดสารสนเทศและความรู้
    • K3: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บและทำรายการสารสนเทศและความรู้
    • K4: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้
    • K5: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้
    • S1: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดหมวดหมู่จากการปฏิบัติ
    • S2: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการจัดหมวดหมู่จากการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S3: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดระบบการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ
    • S4: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะระบบการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S5: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ จากการปฏิบัติ
    • S6: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S7: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดเครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศจากการปฏิบัติ
    • S8: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะเครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S9: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ
    • S10: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้ในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • E1: ผู้เรียนอ้างถึง (Refer to) หลักคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงาน แสดงออกถึงความรับผิดชอบในการเรียน โดยสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • E2: ผู้เรียนตอบสนองต่อ (Respond to) การปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ได้อย่างถูกต้องหลีกเลี่ยงการกระทำสิ่งที่ผิดกฎกติกาของสังคม และกฎหมาย
    • C1: ผู้เรียนแสดง (Show) ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน
    • C2: ผู้เรียนแสดง (Show) ความคิดสร้างสรรค์ในงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม
    • C3: ผู้เรียนแสดง (Show) บุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย ที่สะท้อนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
    20 ตลอดปีการศึกษา
    ผลงานงานเดี่ยว/ผลงานโครงงานตามที่กำหนดในแต่ละหัวข้อของรายบุคคล
    • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดสารสนเทศและความรู้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับหลักและระบบการจัดสารสนเทศและความรู้
    • K3: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บและทำรายการสารสนเทศและความรู้
    • K4: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้
    • K5: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้
    • S1: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดหมวดหมู่จากการปฏิบัติ
    • S2: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการจัดหมวดหมู่จากการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S3: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดระบบการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ
    • S4: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะระบบการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S5: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ จากการปฏิบัติ
    • S6: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S7: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดเครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศจากการปฏิบัติ
    • S8: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะเครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S9: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ
    • S10: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้ในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • E1: ผู้เรียนอ้างถึง (Refer to) หลักคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงาน แสดงออกถึงความรับผิดชอบในการเรียน โดยสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • E2: ผู้เรียนตอบสนองต่อ (Respond to) การปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ได้อย่างถูกต้องหลีกเลี่ยงการกระทำสิ่งที่ผิดกฎกติกาของสังคม และกฎหมาย
    • C1: ผู้เรียนแสดง (Show) ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน
    • C2: ผู้เรียนแสดง (Show) ความคิดสร้างสรรค์ในงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม
    • C3: ผู้เรียนแสดง (Show) บุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย ที่สะท้อนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
    50 ตลอดปีการศึกษา
    การสรุปผลการเรียนรู้รายบุคคล
    • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดสารสนเทศและความรู้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับหลักและระบบการจัดสารสนเทศและความรู้
    • K3: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บและทำรายการสารสนเทศและความรู้
    • K4: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้
    • K5: ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Describe) ความรู้เชิงสาระ, หลักการ, กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้
    • S1: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดหมวดหมู่จากการปฏิบัติ
    • S2: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการจัดหมวดหมู่จากการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S3: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดระบบการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ
    • S4: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะระบบการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S5: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ จากการปฏิบัติ
    • S6: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S7: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์ใช้แนวคิดเครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศจากการปฏิบัติ
    • S8: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะเครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • S9: ผู้เรียนได้ฝึก (Practice) ประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้จากการปฏิบัติ
    • S10: ผู้เรียนสามารถพัฒนา (Develop) ทักษะการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดสารสนเทศและความรู้ในการปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนางาน หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติ
    • E1: ผู้เรียนอ้างถึง (Refer to) หลักคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงาน แสดงออกถึงความรับผิดชอบในการเรียน โดยสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • E2: ผู้เรียนตอบสนองต่อ (Respond to) การปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ได้อย่างถูกต้องหลีกเลี่ยงการกระทำสิ่งที่ผิดกฎกติกาของสังคม และกฎหมาย
    • C1: ผู้เรียนแสดง (Show) ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน
    • C2: ผู้เรียนแสดง (Show) ความคิดสร้างสรรค์ในงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม
    • C3: ผู้เรียนแสดง (Show) บุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย ที่สะท้อนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
    10 ตลอดปีการศึกษา
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา Curras, Emilia. (2010). Ontologies, Taxonomies and Thesaurus in Systems Science and
    Systematics. Oxford: CHANDOS Publishing.
    หนังสือ หรือ ตำรา Haynes, D. (2018). Metadata for information management and retrieval: Understanding
    metadata and its use. 2nd ed. London: Facet Publishing.
    หนังสือ หรือ ตำรา Kumar, K. (1985). Theory of Classification. New Delhi:
    Vani Educational Book.
    หนังสือ หรือ ตำรา Smiraglia, Richard P.. (2014). The Elements of Knowledge Organization. New York: Springer.
    หนังสือ หรือ ตำรา Bean, A., Green, R. (Eds.) (2001). Relationships in the Organization of Knowledge.
    London: Kluwer, Academic Publisher.
    หนังสือ หรือ ตำรา Abbas, June. (2010). Structures for Organizing Knowledge: Exploring Taxonomies, Ontologies,
    and Other Schemas. New York: Neal-Schuman Publisher.
    หนังสือ หรือ ตำรา ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2553). องค์การแห่งความรู้: จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: แซทโฟร์พริ้นติ้ง.
    หนังสือ หรือ ตำรา มาลี กาบมาลา. (2565). การจัดสารสนเทศและความรู้ในสภาพแวดล้อมสารสนเทศดิจิทัล. ขอนแก่น: สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายในคณะ
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)