รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Information Science
สาขาวิชา
Field
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2562
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
แนะนำรายละเอียดของรายวิชา เครื่องมือที่ใช้สอน วิธีการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผล |
3 |
|
1. กระตุ้นเร้าความสนใจของผู้เรียน โดยเปิดคลิปสั้น ยินดีต้อนรับสู่รายวิชา โดยใช้เครื่องมือ Canva เพื่อเชือมโยงสู่การเข้าชั้นเรียน Google classroom 2. ให้นักศึกษาร่วมแสดงความเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่คาดหวังจากรายวิชา โดยใช้ Pollev 3. ผู้สอนแนะนำรายละเอียดของรายวิชา แนะนำเครื่องมือที่ใช้ในการเรียนการสอน (google classroom, Zoom, Facebook, padlet, Slido) ช่องทางการติดต่อสื่อสารกับผู้สอนและเพื่อนร่วมชั้นเรียน วิธีการประเมินผล ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังและอื่นๆ โดยใช้โปรแกรม Zoom 4. ให้ผู้เรียนได้ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ผ่านทาง google classroom 5. แสดงผลตอบกลับต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของแต่ละคน 6. แนะนำแหล่งข้อมูล และเนื้อหาเพื่อให้นักศึกษาไปศึกษาด้วยตนเองล่วงหน้า ผ่านทางgoogle classroom ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน |
|
2-11 |
การสื่อสารสารสนเทศ - ทฤษฎีการสื่อสารในยุคดิจิทัล - คุณลักษณะของสื่อดิจิทัลและสื่อใหม่ - การวิเคราะห์ผู้รับสารและเนื้อหาสารในสื่อดิจิทัล - การรู้เท่าทันสื่อเพื่อการสร้างสรรค์เนื้อหาดิจิทัล |
42 | 90 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet Google Classroom ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน 1. กระตุ้นเร้าความสนใจของผู้เรียน โดยการนำเสนอคลิปที่เกี่ยวกับเนื้อหาสารดิจิทัลทั้งแบบที่ได้รับการออกแบบอย่างดี และแบบที่ไม่ดี และทำกิจกรรมทดสอบผ่านทาง Google classroom 2. ชี้แจงวัตถุประสงค์การเรียนรู้ประจำบท และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังจากผู้เรียน พร้อมทั้งระบุวัตถุประสงค์และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังไว้ใน สไลด์และ/หรือเอกสารคำสอนดิจิทัล และแผนการสอน 3. ผู้สอนนอภิปรายเกี่ยวกับสารและทฤษฎีการสื่อสาร เพื่อสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับสารและทฤษฎีการสื่อสาร ความรู้ของผู้เรียน โดยการให้นักศึกษาชมตัวอย่างของสารที่ปรากฏในสื่อดิจิทัลลักษณะต่างๆ จากนั้นให้นักศึกษาร่วมอภิปรายแสดงความคิดเห็นถึงจุดเด่น จุดด้อยเกี่ยวกับผลงานการสื่อสารของสื่อดิจิทัลที่นำมาเสนอเป็นตัวอย่าง โดยใช้โปรแกรม Type Form และทำแบบฝึกหัดใน Google classroom 4.ผู้สอนสรุปและนำเสนอเนื้อหาการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ทบทวนความเข้าใจอีกครั้งโดยใช้ Google classroom 5.ให้ผู้เรียนทำกิจกรรมการเรียนรู้โดยการหาตัวอย่างของผลงานการพัฒนาเนื้อหาสารสนเทศดิจิทัล วิพากษ์เนื้อหาสาระดิจิทัลที่ปรากฏในสื่อนั้น พร้อมทั้งระบุเหตุผลโดยเป็นทากิจกรรมผ่านโปรแกรม Padlet 6. ผู้สอนและผู้เรียนจะร่วมกันให้ผลป้อนกลับต่อผลการวิพากษ์ของผู้เรียนแต่ละคนร่วมกันเพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนร่วมชั้นเรียน 7. ประเมินผลการเรียนรู้โดยการให้นักศึกษาจัดทา Mind map เพื่อสรุปความรู้ที่ได้รับโดยใช้โปรแกรม google classroom 8. ผู้สอนนำเอกสารคาสอนออนไลน์ไปเผยแพร่ใน google classroomเพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาทบทวนเนื้อหาทฤษฎีเพิ่มเติมได้ และในขณะเดียวกัน จะมอบหมายให้ผู้เรียนเตรียมความพร้อมการเรียนในประเด็นถัดไปโดยผู้สอนจะนำเอกสารคาสอน และสไลด์มาเผยแพร่ไว้ในห้องเรียน google classroom |
12-21 |
ธุรกิจสร้างสรรค์เนื้อหาดิจิทัล - คุณลักษณะของผู้ประกอบการสร้างสรรค์เนื้อหาดิจิทัล - ประเภทของธุรกิจการสร้างสรรค์เนื้อหาดิจิทัล - การบริหารจัดการสื่อและเนื้อหาดิจิทัล - การออกแบบและพัฒนาเนื้อหาดิจิทัล - จรรยาบรรณและจริยธรรมในการสร้างสรรค์เนื้อหาดิจิทัล |
42 | 90 |
|
ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน Google Classroom ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet 1. ผู้สอนจะกระตุ้นผู้เรียนโดยการให้ผู้เรียนชมตัวอย่างภาพศิลปะที่เกี่ยวกับการออกแบบสื่อดิจิ ทัลที่ดี และให้นักศึกษาวิพากษ์บนหลักทฤษฎีการออกแบบที่ได้ศึกษา 2. ผู้สอนชี้แจงวัตถุประสงค์การเรียนรู้ และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง 3. ทบทวนเนื้อหาบทเรียนเดิมที่เกี่ยวกับสาร และการออกแบบสาร เพื่อนาสารมาเป็นเนื้อหาหลักสาหรับใช้ในการออกแบบ โดยใช้โปรแกรม Zoom 4. ผู้สอนนำสู่บทเรียนออนไลน์ที่เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับเนื้อหาบทเรียน โดยออกแบบบทเรียนในลักษณะที่เป็นเกม เพื่อเป็นสิ่งเร้าให้ผู้เรียนสนใจเรียนรู้ มีการสร้างคำถามประกอบในบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนตอบคาถาม โดยใช้โปรแกรม Slido for Google slide 5. จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยให้นักศึกษาทาการออกแบบ mood and tone ที่นาเสนอสาระเกี่ยวกับตัวนักศึกษา จากนั้นให้นักศึกษาทุกคนโพสต์ผลงานตนเองใน facebook แล้วให้ทุกคนโหวตผลงานที่ชอบที่สุดเพียง 3 ผลงาน พร้อมทั้งระบุเหตุผล เป็นเวลา 1 สัปดาห์ 6. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมอภิปรายถึงผลงานที่เป็นที่ชื่นชอบมากที่สุด 3 อันดับแรก จากนั้นให้ข้อมูลป้อนกลับถึงหลักการออกแบบที่ดี ผู้เรียนสรุปเนื้อหาการเรียนรู้ในลักษณะของ mind map จัดเก็บใน e-portfolio ของตนเอง 7. นักศึกษาได้ฝึกฝนการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ให้กับอาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสั งคมศาสตร์มีจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ผู้เรียนสรุปเนื้อหาการเรียนรู้ในลักษณะของ mind map จัดเก็บผลงานใน e-portfolio ของตนเอง 8. ผู้สอนแจ้งสื่อและแหล่งเรียนรู้เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาเพิ่มเติมผ่านทาง google classroom 9. ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนเขียนสรุปความสาคัญของการออกแบบต่อการสื่อสาร จานวน 1 หน้า A4 จากนั้นโพสต์ลงใน google classroom และเตรียมตัวอ่านเนื้อหาสาหรับสัปดาห์ถัด |
22-31 |
การผลิตและพัฒนาเนื้อหาดิจิทัล - สื่อใหม่และกลยุทธ์เชิงเนื้อหา - การเล่าเรื่องและกลยุทธ์การเล่าเรื่องข้ามสื่อ - การออกแบบและพัฒนาเนื้อหาดิจิทัล |
42 | 90 |
|
ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet Google Classroom 1. กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน โดยสารวจความชอบของนักศึกษากับหน้าปกหนังสือ โดยใช้โปรแกรม Clicker 2. แจ้งวัตถุประสงค์การเรียน การจัดการเรียนการสอน และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังให้กับผู้เรียนทราบ ผ่านโปรแกรม Zoom และนาไปประกาศไว้ในห้องเรียน Moodle 3. ทบทวนเนื้อหาบทเรียนเดิมเกี่ยวกับหลักการออกแบบโดยใช้โปรแกรม Adobe photoshop 4. นำผู้เรียนเข้าสู่บทเรียน โดยการให้ความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และแนะนาโปรแกรม Adobe photoshop ฟังก์ชั่นการทางานต่างๆ ของ photoshop พร้อมทั้งการฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรม 5. ผู้สอนกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยผู้เรียนทุกคนทำการปรับแต่งภาพเพื่อประกอบการจัดทำหนังสือหรือโปสเตอร์ 6. ผู้เรียนทุกคนต้องนาเสนอผลงานการออกแบบผ่านทาง Padlet หลังจากนั้นให้เพื่อนในชั้นเรียนได้เข้ามาให้ข้อติชม และข้อเสนอแนะ พร้อมทั้งกดเครื่องหมายชื่นชอบ หรือหัวใจ จากนั้นผู้สอนนาอภิปรายถึงผลงานของนักศึกษาที่ได้การชื่นชอบ 3 คนแรก เกี่ยวกับแนวคิดการออกแบบและหลักทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 7. นักศึกษาได้ฝึกฝนการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ให้กับอาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสั งคมศาสตร์มีจัดการเรียนการสอนออนไลน์ 8. ผู้เรียนสรุปเนื้อหาการเรียนรู้ในลักษณะของ mind map จัดเก็บผลงานใน e-portfolio ของตนเอง 9. ผู้สอนแจ้งสื่อและแหล่งเรียนรู้เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาเพิ่มเติมผ่านทาง google classroom 10. ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนเขียนสรุปความสาคัญของการออกแบบต่อการสื่อสาร จานวน 1 หน้า A4 และนาส่งทาง google classroom และเตรียมตัวศึกษาบทเรียนสาหรับชั่วโมงถัดไป |
32 | นำเสนอโครงงานเพื่อการสร้างสรรค์เนื้อหาสาระดิจิทัล | 6 |
|
ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet Google Classroom 1. กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน โดยสารวจความชอบของนักศึกษากับหน้าปกหนังสือ โดยใช้โปรแกรม Clicker 2. แจ้งวัตถุประสงค์การเรียน การจัดการเรียนการสอน และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังให้กับผู้เรียนทราบ ผ่านโปรแกรม Zoom และนาไปประกาศไว้ในห้องเรียน Moodle 3. ทบทวนเนื้อหาบทเรียนเดิมเกี่ยวกับหลักการออกแบบโดยใช้โปรแกรม Adobe photoshop 4. นำผู้เรียนเข้าสู่บทเรียน โดยการให้ความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และแนะนาโปรแกรม Adobe photoshop ฟังก์ชั่นการทางานต่างๆ ของ photoshop พร้อมทั้งการฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรม 5. ผู้สอนกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยผู้เรียนทุกคนทำการปรับแต่งภาพเพื่อประกอบการจัดทำหนังสือหรือโปสเตอร์ 6. ผู้เรียนทุกคนต้องนาเสนอผลงานการออกแบบผ่านทาง Padlet หลังจากนั้นให้เพื่อนในชั้นเรียนได้เข้ามาให้ข้อติชม และข้อเสนอแนะ พร้อมทั้งกดเครื่องหมายชื่นชอบ หรือหัวใจ จากนั้นผู้สอนนาอภิปรายถึงผลงานของนักศึกษาที่ได้การชื่นชอบ 3 คนแรก เกี่ยวกับแนวคิดการออกแบบและหลักทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 7. นักศึกษาได้ฝึกฝนการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ให้กับอาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสั งคมศาสตร์มีจัดการเรียนการสอนออนไลน์ 8. ผู้เรียนสรุปเนื้อหาการเรียนรู้ในลักษณะของ mind map จัดเก็บผลงานใน e-portfolio ของตนเอง 9. ผู้สอนแจ้งสื่อและแหล่งเรียนรู้เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาเพิ่มเติมผ่านทาง google classroom |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 135 | 270 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม |
|
10 | |
งานกลุ่ม |
|
30 | |
สรุปผลการเรียนรู้เป็นรายบุคคลและทดสอบย่อย |
|
20 | |
Capstone Project |
|
40 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
กันยารัตน์ เควียเซ่น. (2563) เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา HS 213304 การสร้างสรรค์เนื้อหาสาระดิจิทัล. ขอนแก่น: สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
อาจารย์ภายในคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
ซากุระดะ, จุน. (2558). Basic infographic: ใช้พลังของภาพสร้างการสื่อสารที่ง่ายและสนุก. นนทบุรี : ไอดีซี. |
อาจารย์ภายนอกคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
สมิทธิ์ บุญชุติมา. (2561). การใช้เครื่องมือสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
อาจารย์ภายนอกคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
Young, A. (2010). Brand media strategy: integrated communications planning in the digital era. New York: Palgrave. |
อาจารย์ภายนอกคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
Social media and the new academic environment: pedagogical challenges. (2013). Hershey, PA. : Information Science Reference. |
อาจารย์ภายนอกคณะ |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement