Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ชุดวิชาโทปรัชญา
Philosophy
สาขาวิชา
Field
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2562
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS821117
ภาษาไทย
Thai name
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ภาษาอังกฤษ
English name
PHILOSOPHY AND WAY OF LIFE
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • เลือกเสรี (Free elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
ชุดวิชาโทปรัชญา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์พุทธรักษ์ ปราบนอก
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์พุทธรักษ์ ปราบนอก
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับความหมายและประเภทของปรัชญา รูปแบบของชีวิตมนุษย์ ชีวิตที่ประเสริฐ ระบบคุณค่าที่แตกต่างกัน ปรัชญาในวิถีชีวิต
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษาสามารถเรียนรู้และเข้าใจโดยศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการทำรายงานด้วยตนเอง
      • นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ระบบปรัชญาที่มีในวิถีชีวิตได้
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • นักศึกษามีลักษณะของการเป็นผู้มีเหตุผล เคารพความคิดเห็นที่แตกต่าง
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      ความหมายและประเภทของปรัชญา รูปแบบของชีวิตมนุษย์ ชีวิตที่ประเสริฐ ระบบคุณค่าที่แตกต่างกัน ปรัชญาในวิถีชีวิต
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Meaning and category of philosophy, model of human life; Noble life; different value systems; philosophy in the way of life.
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Case discussion
      • Google Meet
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-2 - แนะนำขอบข่ายรายวิชาและการเรียนการสอน

      หน่วยที่ 1 ธรรมชาติของปรัชญา
      1.1 ธรรมชาติที่สำคัญของมนุษย์
      1.2 วิชามนุษยศาสตร์
      1.3 สาขาของวิชาปรัชญา
      1.4 ปรัชญากับวิถีชีวิต
      6
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับความหมายและประเภทของปรัชญา รูปแบบของชีวิตมนุษย์ ชีวิตที่ประเสริฐ ระบบคุณค่าที่แตกต่างกัน ปรัชญาในวิถีชีวิต
      • S1: นักศึกษาสามารถเรียนรู้และเข้าใจโดยศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการทำรายงานด้วยตนเอง
      • S2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ระบบปรัชญาที่มีในวิถีชีวิตได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - ชี้แจงรายละเอียดขอบข่ายเนื้อหาวิชา และกระบวนการเรียนการสอน และการใช้งาน KKU
      e-Learning
      - นำเข้าสู่บทเรียน
      - สอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
      - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติของปรัชญา โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Discussion forum
      - มอบหมายงานตามใบงานที่ 1-2
      สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
      (1) เอกสารออนไลน์ขอบข่ายรายวิชาและกำหนดการเรียนการสอน
      (2) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
      (3) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 1 ในระบบ KKU e-Learning
      (4) ใบงานที่ 1 ปรัชญาคืออะไร (งานเดี่ยว)
      (5) ใบงานที่ 2 ปรัชญาเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตมนุษย์อย่างไร (งานเดี่ยว)
      3-4 หน่วยที่ 2 รูปแบบในการชีวิต
      2.1 วัตถุนิยม
      2.2 จิตนิยม
      2.3 มานุษยนิยม

      6
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับความหมายและประเภทของปรัชญา รูปแบบของชีวิตมนุษย์ ชีวิตที่ประเสริฐ ระบบคุณค่าที่แตกต่างกัน ปรัชญาในวิถีชีวิต
      • S2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ระบบปรัชญาที่มีในวิถีชีวิตได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • C2: นักศึกษามีลักษณะของการเป็นผู้มีเหตุผล เคารพความคิดเห็นที่แตกต่าง
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - เริ่มกระบวนการเรียนการสอนผ่าน KKU e-Learning
      - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
      - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการใชชีวิตของมนุษย์โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Discussion forum
      - มอบหมายงานตามใบงานที่ 3
      สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
      (1) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
      (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 2 ในระบบ KKU e-Learning
      (3) ใบงานที่ 3 การวิเคราะห์รูปแบบการชีวิตของตนเองและคนในสังคม (งานเดี่ยว)

      5-7 หน่วยที่ 3 ชีวิตที่ประเสริฐ
      3.1 สุขนิยม
      3.2 อัตนิยม
      3.3 ประโยชน์นิยม

      12
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับความหมายและประเภทของปรัชญา รูปแบบของชีวิตมนุษย์ ชีวิตที่ประเสริฐ ระบบคุณค่าที่แตกต่างกัน ปรัชญาในวิถีชีวิต
      • S1: นักศึกษาสามารถเรียนรู้และเข้าใจโดยศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการทำรายงานด้วยตนเอง
      • S2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ระบบปรัชญาที่มีในวิถีชีวิตได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • C2: นักศึกษามีลักษณะของการเป็นผู้มีเหตุผล เคารพความคิดเห็นที่แตกต่าง
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - เริ่มกระบวนการเรียนการสอนผ่าน KKU e-Learning
      - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
      - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายในการดำรีงชีวิตของคนในยุคปัจจุบัน โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Discussion forum
      - มอบหมายงานตามใบงานที่ 4
      - ผู้เรียนดำเนินการโครงงาน
      สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
      (1) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
      (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 3 ในระบบ KKU e-Learning
      (3) ใบงานที่ 4 มนุษย์ควรมีชีวิตอยู่เพื่ออะไร (งานกลุ่ม)
      8-10 หน่วยที่ 4 ระบบคุณค่า
      4.1 สัมพัทธนิยม
      4.2 สัมบูรณนิยม

      3
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับความหมายและประเภทของปรัชญา รูปแบบของชีวิตมนุษย์ ชีวิตที่ประเสริฐ ระบบคุณค่าที่แตกต่างกัน ปรัชญาในวิถีชีวิต
      • S1: นักศึกษาสามารถเรียนรู้และเข้าใจโดยศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการทำรายงานด้วยตนเอง
      • S2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ระบบปรัชญาที่มีในวิถีชีวิตได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • C2: นักศึกษามีลักษณะของการเป็นผู้มีเหตุผล เคารพความคิดเห็นที่แตกต่าง
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - เริ่มกระบวนการเรียนการสอนผ่าน KKU e-Learning
      - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
      - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับระบบคุณค่าทั้งสองแบบ โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Discussion forum
      - มอบหมายงานตามใบงานที่ 5-6

      สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
      (1) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
      (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 4 ในระบบ KKU e-Learning
      (3) ใบงานที่ 5 การอ้างเหตุผลสนับสนุนประเด็นเรื่องการอนุรักษ์ธรรมชาติโดยแนวคิดแบบสัมพัทธนิยมและสัมบูรณนิยม (งานเดี่ยว)
      (4) ใบงานที่ 6 คำสอนเรื่องกรรมของพุทธศาสนาเป็นระบบคุณค่าแบบใด ระหว่างสัมพัทธนิยมและสัมบูรณนิยม (งานกลุ่ม)
      11-14 หน่วยที่ 5 ประเด็นทางจริยธรรมในชีวิตประจำวัน
      5.1 คุณค่าของชีวิตในยุควิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
      5.2 กรรมนิยามกับปัญหาจริยธรรมสมัยใหม่
      5.3 การล่วงละเมิดในทัศนะของพุทธศาสนา
      5.4 การใช้เหตุผลวิบัติในการโต้แย้งในชีวิตประจำวัน

      12
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับความหมายและประเภทของปรัชญา รูปแบบของชีวิตมนุษย์ ชีวิตที่ประเสริฐ ระบบคุณค่าที่แตกต่างกัน ปรัชญาในวิถีชีวิต
      • S1: นักศึกษาสามารถเรียนรู้และเข้าใจโดยศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการทำรายงานด้วยตนเอง
      • S2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ระบบปรัชญาที่มีในวิถีชีวิตได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • C2: นักศึกษามีลักษณะของการเป็นผู้มีเหตุผล เคารพความคิดเห็นที่แตกต่าง
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - เริ่มกระบวนการเรียนการสอนผ่าน KKU e-Learning
      - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
      - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมในชีวิตประจำวัน โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Discussion forum
      - มอบหมายงานตามใบงานที่ 7-8
      สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
      (1) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
      (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 6 ในระบบ KKU e-Learning
      (3) ใบงานที่ 7 คุณค่าชีวิตในยุควิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควรเป็นเช่นไร (งานเดี่ยว)
      (4) ใบงานที่ 8 การใช้เหตุผลที่มถูกต้องในการโต้แย้งส่งผลต่อสังคมอย่างไร (งานกลุ่ม)
      15 หน่วยที่ 6 ปัญหาจริยธรรมในโลกปัจจุบัน
      6.1 การฆ่าตัวตาย
      6.2 การุณยฆาต
      6.3 การทำแท้ง
      6.4 การประหารชีวิต
      6.5 โสเภณี

      3
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับความหมายและประเภทของปรัชญา รูปแบบของชีวิตมนุษย์ ชีวิตที่ประเสริฐ ระบบคุณค่าที่แตกต่างกัน ปรัชญาในวิถีชีวิต
      • S1: นักศึกษาสามารถเรียนรู้และเข้าใจโดยศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการทำรายงานด้วยตนเอง
      • S2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ระบบปรัชญาที่มีในวิถีชีวิตได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • C2: นักศึกษามีลักษณะของการเป็นผู้มีเหตุผล เคารพความคิดเห็นที่แตกต่าง
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - เริ่มกระบวนการเรียนการสอนผ่าน KKU e-Learning
      - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
      - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับปัญหาจริยธรรมในโลกปัจจุบัน โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Discussion forum
      - มอบหมายงานตามใบงานที่ 9-10
      สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
      (1) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
      (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 6 ในระบบ KKU e-Learning
      (3) ใบงานที่ 9 การค้าประเวณีเหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุใด จงอ้างเหตุผลสนับสนุนหรือโต้แย้ง (งานเดี่ยว)
      (4) ใบงานที่ 10 มนุษย์มีสิทธิในการที่จะฆ่าตัวตายหรือไม่ จงอ้างเหตุผลสนับสนุนหรือโต้แย้ง (งานกลุ่ม)
      รวมจำนวนชั่วโมง 42 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การเข้าเรียนใน KKU e-Learning และการมีส่วนร่วมใน Discussion forum
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับความหมายและประเภทของปรัชญา รูปแบบของชีวิตมนุษย์ ชีวิตที่ประเสริฐ ระบบคุณค่าที่แตกต่างกัน ปรัชญาในวิถีชีวิต
      • S1: นักศึกษาสามารถเรียนรู้และเข้าใจโดยศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการทำรายงานด้วยตนเอง
      • S2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ระบบปรัชญาที่มีในวิถีชีวิตได้
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • A2: นักศึกษามีลักษณะของการเป็นผู้มีเหตุผล เคารพความคิดเห็นที่แตกต่าง
      30 1. เช็คชื่อการเข้าห้องเรียนเสมือนออนไลน์
      2. เช็คชื่อการเข้าไปอ่านงานออนไลน์
      3.การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในแต่ละหัวข้อการอภิปราย การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อน
      ใบงานที่ 1-10
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับความหมายและประเภทของปรัชญา รูปแบบของชีวิตมนุษย์ ชีวิตที่ประเสริฐ ระบบคุณค่าที่แตกต่างกัน ปรัชญาในวิถีชีวิต
      • S1: นักศึกษาสามารถเรียนรู้และเข้าใจโดยศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการทำรายงานด้วยตนเอง
      • S2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ระบบปรัชญาที่มีในวิถีชีวิตได้
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • A2: นักศึกษามีลักษณะของการเป็นผู้มีเหตุผล เคารพความคิดเห็นที่แตกต่าง
      25 ส่งผ่านระบบ KKU e-Learning
      การผลิตโครงงาน (งานเดี่ยว)
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับความหมายและประเภทของปรัชญา รูปแบบของชีวิตมนุษย์ ชีวิตที่ประเสริฐ ระบบคุณค่าที่แตกต่างกัน ปรัชญาในวิถีชีวิต
      • S1: นักศึกษาสามารถเรียนรู้และเข้าใจโดยศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการทำรายงานด้วยตนเอง
      • S2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ระบบปรัชญาที่มีในวิถีชีวิตได้
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • A2: นักศึกษามีลักษณะของการเป็นผู้มีเหตุผล เคารพความคิดเห็นที่แตกต่าง
      25 ส่งสัปดาห์สุดท้ายของการเรียนผ่านระบบ KKU e-Learning
      การสอบปลายภาค
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับความหมายและประเภทของปรัชญา รูปแบบของชีวิตมนุษย์ ชีวิตที่ประเสริฐ ระบบคุณค่าที่แตกต่างกัน ปรัชญาในวิถีชีวิต
      • S1: นักศึกษาสามารถเรียนรู้และเข้าใจโดยศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการทำรายงานด้วยตนเอง
      • S2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ระบบปรัชญาที่มีในวิถีชีวิตได้
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      20 Online Examination
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2549). ปรัชญากับวิถีชีวิต. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแห่งชาติ.
      หนังสือ หรือ ตำรา วิทย์ วิศทเวทย์. (2540). ปรัชญาทั่วไป มนุษย์ โลก และความหมายของชีวิต. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
      หนังสือ หรือ ตำรา ระวี ภาวิไล, แปล. (2538). ปรัชญาชีวิต. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์กะรัต.
      หนังสือ หรือ ตำรา วิทย์ วิศทเวทย์. (2550). จริยศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
      หนังสือ หรือ ตำรา สมภาร พรมทา. (2541). พุทธศาสนากับปัญหาจริยศาสตร์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
      หนังสือ หรือ ตำรา โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์. (2560). ปรัชญาทั่วไป. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
      หนังสือ หรือ ตำรา สุนทร ณ รังษี. (2541). พุทธปรัชญาในพระไตรปิฎก. กรุงเทพฯ : สำนักพิม์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      • ประเมินให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามของรายวิชา
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2

      รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
      สำหรับชุดวิชาโทปรัชญา (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)

      1. คุณธรรมและจริยธรรม
      1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
      1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
      1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

      2. ความรู้
      2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญของปรัชญา
      2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาปรัชญา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในปรัชญา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์ความรู้ในรายวิชาปรัชญา

      3. ทักษะทางปัญญา
      3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
      3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญญาต่าง ๆ ได้

      4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญญาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      4.2 เข้าใจและยอมรับในความแตกต่างหลากหลายทางความคิด สังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี

      5.ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีความสามารถในการใช้ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขหรือ กระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชา
      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาได้