รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
แนวความคิดทั่วไปทางด้านระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ |
3 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.การบรรยาย 2.การแบ่งกลุ่มนักศึกษาทำกิจกรรมถามตอบภายในเวลาที่กำหนด โดยให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ และใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการสืบค้น และการรายงาน 3.การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายภายในกลุ่ม 4.การเช็คชื่อในชั้นเรียน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน 1.Power Point 2.เอกสารคำสอนสอน 3.เว็บไซต์ Polleverywhere.com 4.E-learning |
|
2-4 |
การกำหนดหัวข้อวิจัย และการกำหนดประเด็นปัญหา การวิจัย |
9 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.การบรรยาย 2.การแบ่งกลุ่มนักศึกษาทำกิจกรรมถามตอบภายในเวลาที่กำหนด โดยให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ และใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการสืบค้น และการรายงาน 3.การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายภายในกลุ่ม 4.การเช็คชื่อในชั้นเรียน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน 1.Power Point 2.เอกสารคำสอนสอน 3.เว็บไซต์ Polleverywhere.com 4.E-learning |
|
5-7 |
ประเภท และการออกแบบการวิจัย |
9 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.การบรรยาย 2.การแบ่งกลุ่มนักศึกษาทำกิจกรรมถามตอบภายในเวลาที่กำหนด โดยให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ และใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการสืบค้น และการรายงาน 3.การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายภายในกลุ่ม 4.การเช็คชื่อในชั้นเรียน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน 1.Power Point 2.เอกสารคำสอนสอน 3.เว็บไซต์ Polleverywhere.com 4.E-learning |
|
8 | สอบมิดเทอม | 3 |
|
KKU e-Learning | |
9-11 | เทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่าง | 9 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.การบรรยาย 2.การแบ่งกลุ่มนักศึกษาทำกิจกรรมถามตอบภายในเวลาที่กำหนด โดยให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ และใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการสืบค้น และการรายงาน 3.การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายภายในกลุ่ม 4.การเช็คชื่อในชั้นเรียน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน 1.Power Point 2.เอกสารคำสอนสอน 3.เว็บไซต์ Polleverywhere.com 4.E-learning |
|
12-13 |
การสร้างเครื่องมือวิจัย การเก็บรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล |
6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.การบรรยาย 2.การแบ่งกลุ่มนักศึกษาทำกิจกรรมถามตอบภายในเวลาที่กำหนด โดยให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ และใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการสืบค้น และการรายงาน 3.การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายภายในกลุ่ม 4.การเช็คชื่อในชั้นเรียน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน 1.Power Point 2.เอกสารคำสอนสอน 3.เว็บไซต์ Polleverywhere.com 4.E-learning |
|
14-15 | การเขียนรายงาน และการประเมินผล การวิจัย | 6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน รายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน รายงาน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
รายงาน |
|
50 | ทุกสัปดาห์ |
การสอบ |
|
50 | สัปดาห์ที่ 8 และ 16 |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
สถาพร เริงธรรม. 2562. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์.. พิมพ์ครั้งที่ 4. ขอนแก่น. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. 2551. การวิจัย และการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้ง ที่ 9. นนทบุรี: เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
ยุทธ ไกยวรรณ์. 2549. สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี จำกัด. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | อคิน รพีพัฒน์ และคณะ. 2546. คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่องานพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 4. อุทัย ดุลยเกษม (บรรณาธิการ). ขอนแก่น: สถาบันวิจัย และพัฒนา. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ดุลยพินิจทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
2. ความรู้
2.1 เข้าใจความรู้และหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
2.2 รู้และเข้าใจถึงความก้าวหน้าของความรู้ตลอดจนธรรมเนียมปฏิบัติกฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
2.3 ตระหนักรู้ถึงงานวิจัยในปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสน-ศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อนโดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และ การนำเสนอข้อมูลทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับประเด็นปัญหาทาง การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ