Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS471901
ภาษาไทย
Thai name
ปรัชญาทางสังคมศาสตร์
ภาษาอังกฤษ
English name
PHILOSOPHY OF SOCIAL SCIENCE
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์ประสิทธิ์ คุณุรัตน์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์ประสิทธิ์ คุณุรัตน์
    • ศาสตราจารย์เศกสรรค์ ยงวณิชย์
    • รองศาสตราจารย์สมศักดิ์ ศรีสันติสุข
    • รองศาสตราจารย์พิธันดร นิตยสุทธิ์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
    • เพื่อให้ ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจในคำอธิบายทางสังคมศาสตร์และการกระทำของมนุษย์
    • เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงวิธีการก้าวพ้นไปจากสภาพความเป็นวัตถุวิสัยและสภาพสัมพัทธภาพ จากแนวคิดพฤติกรรมนิยมไปสู่ทางเลือกแบบมีเหตุผล แนวคิดแบบหน้าที่นิยมและ สังคมศาสตร์ในระดับมหภาค ตลอดจนคำถามในทางปรัชญาที่ยังคงดำรงอยู่ในทางสังคมศาสตร์
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • มีทักษะสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      • เป็นผู้มีความลุ่มลึกในการแสวงหาความรู้ ความจริง ในทางสังคมศาสตร์
      • เป็นผู้ตระหนักรู้ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการทำวิจัย
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      ปรัชญาทางสังคมศาสตร์
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Philosophy of Social Science
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      • Reading assignments, Field Participation for Case study
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Task-based learning
      • Project-based learning
      • Flipped classroom
      • Case discussion
      • Seminar
      • Guest Lecturer,
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 Orientation, Comprehension, Assignment 3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      บรรยายรายละเอียดวิชา ข้อตกลงร่วมในรายวิชา
      2-3 Fundamental of Philosophy 6
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      มอบหมายให้ศึกษาล่วงหน้า บรรยาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
      4 Moral and ethics 3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      มอบหมายให้ศึกษาล่วงหน้า บรรยาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
      5 Comparative West and East Philosophy 3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • K2: เพื่อให้ ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจในคำอธิบายทางสังคมศาสตร์และการกระทำของมนุษย์
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      มอบหมายให้ศึกษาล่วงหน้า บรรยาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
      6 Concept of Social Science 3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • K2: เพื่อให้ ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจในคำอธิบายทางสังคมศาสตร์และการกระทำของมนุษย์
      • K3: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงวิธีการก้าวพ้นไปจากสภาพความเป็นวัตถุวิสัยและสภาพสัมพัทธภาพ จากแนวคิดพฤติกรรมนิยมไปสู่ทางเลือกแบบมีเหตุผล แนวคิดแบบหน้าที่นิยมและ สังคมศาสตร์ในระดับมหภาค ตลอดจนคำถามในทางปรัชญาที่ยังคงดำรงอยู่ในทางสังคมศาสตร์
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • S2: มีทักษะสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      • C2: เป็นผู้มีความลุ่มลึกในการแสวงหาความรู้ ความจริง ในทางสังคมศาสตร์
      • C3: เป็นผู้ตระหนักรู้ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการทำวิจัย
      มอบหมายให้ศึกษาล่วงหน้า บรรยาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน, กรณีศึกษา
      7-8 Nature of social science philosophy, 6
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • K2: เพื่อให้ ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจในคำอธิบายทางสังคมศาสตร์และการกระทำของมนุษย์
      • K3: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงวิธีการก้าวพ้นไปจากสภาพความเป็นวัตถุวิสัยและสภาพสัมพัทธภาพ จากแนวคิดพฤติกรรมนิยมไปสู่ทางเลือกแบบมีเหตุผล แนวคิดแบบหน้าที่นิยมและ สังคมศาสตร์ในระดับมหภาค ตลอดจนคำถามในทางปรัชญาที่ยังคงดำรงอยู่ในทางสังคมศาสตร์
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • S2: มีทักษะสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      • C2: เป็นผู้มีความลุ่มลึกในการแสวงหาความรู้ ความจริง ในทางสังคมศาสตร์
      • C3: เป็นผู้ตระหนักรู้ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการทำวิจัย
      มอบหมายให้ศึกษาล่วงหน้า บรรยาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน, กรณีศึกษา
      9-10 Historical and philosophical roots of 6
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • K2: เพื่อให้ ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจในคำอธิบายทางสังคมศาสตร์และการกระทำของมนุษย์
      • K3: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงวิธีการก้าวพ้นไปจากสภาพความเป็นวัตถุวิสัยและสภาพสัมพัทธภาพ จากแนวคิดพฤติกรรมนิยมไปสู่ทางเลือกแบบมีเหตุผล แนวคิดแบบหน้าที่นิยมและ สังคมศาสตร์ในระดับมหภาค ตลอดจนคำถามในทางปรัชญาที่ยังคงดำรงอยู่ในทางสังคมศาสตร์
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • S2: มีทักษะสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      • C2: เป็นผู้มีความลุ่มลึกในการแสวงหาความรู้ ความจริง ในทางสังคมศาสตร์
      • C3: เป็นผู้ตระหนักรู้ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการทำวิจัย
      มอบหมายให้ศึกษาล่วงหน้า บรรยาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน, กรณีศึกษา
      11 King’s philosophy science 3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • K2: เพื่อให้ ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจในคำอธิบายทางสังคมศาสตร์และการกระทำของมนุษย์
      • K3: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงวิธีการก้าวพ้นไปจากสภาพความเป็นวัตถุวิสัยและสภาพสัมพัทธภาพ จากแนวคิดพฤติกรรมนิยมไปสู่ทางเลือกแบบมีเหตุผล แนวคิดแบบหน้าที่นิยมและ สังคมศาสตร์ในระดับมหภาค ตลอดจนคำถามในทางปรัชญาที่ยังคงดำรงอยู่ในทางสังคมศาสตร์
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • S2: มีทักษะสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      • C2: เป็นผู้มีความลุ่มลึกในการแสวงหาความรู้ ความจริง ในทางสังคมศาสตร์
      • C3: เป็นผู้ตระหนักรู้ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการทำวิจัย
      มอบหมายให้ศึกษาล่วงหน้า บรรยาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน, กรณีศึกษา
      12 The possible existence of social laws, 3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • K2: เพื่อให้ ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจในคำอธิบายทางสังคมศาสตร์และการกระทำของมนุษย์
      • K3: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงวิธีการก้าวพ้นไปจากสภาพความเป็นวัตถุวิสัยและสภาพสัมพัทธภาพ จากแนวคิดพฤติกรรมนิยมไปสู่ทางเลือกแบบมีเหตุผล แนวคิดแบบหน้าที่นิยมและ สังคมศาสตร์ในระดับมหภาค ตลอดจนคำถามในทางปรัชญาที่ยังคงดำรงอยู่ในทางสังคมศาสตร์
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • S2: มีทักษะสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      • C2: เป็นผู้มีความลุ่มลึกในการแสวงหาความรู้ ความจริง ในทางสังคมศาสตร์
      • C3: เป็นผู้ตระหนักรู้ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการทำวิจัย
      มอบหมายให้ศึกษาล่วงหน้า บรรยาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน, กรณีศึกษา
      13 Philosophy of Social Sciences related to Research 3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • K2: เพื่อให้ ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจในคำอธิบายทางสังคมศาสตร์และการกระทำของมนุษย์
      • K3: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงวิธีการก้าวพ้นไปจากสภาพความเป็นวัตถุวิสัยและสภาพสัมพัทธภาพ จากแนวคิดพฤติกรรมนิยมไปสู่ทางเลือกแบบมีเหตุผล แนวคิดแบบหน้าที่นิยมและ สังคมศาสตร์ในระดับมหภาค ตลอดจนคำถามในทางปรัชญาที่ยังคงดำรงอยู่ในทางสังคมศาสตร์
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • S2: มีทักษะสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      • C2: เป็นผู้มีความลุ่มลึกในการแสวงหาความรู้ ความจริง ในทางสังคมศาสตร์
      • C3: เป็นผู้ตระหนักรู้ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการทำวิจัย
      มอบหมายให้ศึกษาล่วงหน้า บรรยาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน, กรณีศึกษา
      14 Philosophy of Social Sciences related to Public Administration 3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • K2: เพื่อให้ ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจในคำอธิบายทางสังคมศาสตร์และการกระทำของมนุษย์
      • K3: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงวิธีการก้าวพ้นไปจากสภาพความเป็นวัตถุวิสัยและสภาพสัมพัทธภาพ จากแนวคิดพฤติกรรมนิยมไปสู่ทางเลือกแบบมีเหตุผล แนวคิดแบบหน้าที่นิยมและ สังคมศาสตร์ในระดับมหภาค ตลอดจนคำถามในทางปรัชญาที่ยังคงดำรงอยู่ในทางสังคมศาสตร์
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • S2: มีทักษะสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      • C2: เป็นผู้มีความลุ่มลึกในการแสวงหาความรู้ ความจริง ในทางสังคมศาสตร์
      • C3: เป็นผู้ตระหนักรู้ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการทำวิจัย
      มอบหมายให้ศึกษาล่วงหน้า บรรยาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน, กรณีศึกษา
      15 Modes of social inquiry by reasonable choices Of functionalism and macro social science 3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • K2: เพื่อให้ ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจในคำอธิบายทางสังคมศาสตร์และการกระทำของมนุษย์
      • K3: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงวิธีการก้าวพ้นไปจากสภาพความเป็นวัตถุวิสัยและสภาพสัมพัทธภาพ จากแนวคิดพฤติกรรมนิยมไปสู่ทางเลือกแบบมีเหตุผล แนวคิดแบบหน้าที่นิยมและ สังคมศาสตร์ในระดับมหภาค ตลอดจนคำถามในทางปรัชญาที่ยังคงดำรงอยู่ในทางสังคมศาสตร์
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • S2: มีทักษะสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      • C2: เป็นผู้มีความลุ่มลึกในการแสวงหาความรู้ ความจริง ในทางสังคมศาสตร์
      • C3: เป็นผู้ตระหนักรู้ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการทำวิจัย
      มอบหมายให้ศึกษาล่วงหน้า บรรยาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน, กรณีศึกษา
      16 Conclusion 3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • K2: เพื่อให้ ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจในคำอธิบายทางสังคมศาสตร์และการกระทำของมนุษย์
      • K3: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงวิธีการก้าวพ้นไปจากสภาพความเป็นวัตถุวิสัยและสภาพสัมพัทธภาพ จากแนวคิดพฤติกรรมนิยมไปสู่ทางเลือกแบบมีเหตุผล แนวคิดแบบหน้าที่นิยมและ สังคมศาสตร์ในระดับมหภาค ตลอดจนคำถามในทางปรัชญาที่ยังคงดำรงอยู่ในทางสังคมศาสตร์
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • S2: มีทักษะสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      • C2: เป็นผู้มีความลุ่มลึกในการแสวงหาความรู้ ความจริง ในทางสังคมศาสตร์
      • C3: เป็นผู้ตระหนักรู้ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการทำวิจัย
      แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน,
      รวมจำนวนชั่วโมง 48 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      1 Class Participation and Discussio 10%
      2 Assignment Presentation, discussion, and report 20%
      3 Write a research proposal with conceptual framework 50%
      .4. Written examination 20%
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • K2: เพื่อให้ ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจในคำอธิบายทางสังคมศาสตร์และการกระทำของมนุษย์
      • K3: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงวิธีการก้าวพ้นไปจากสภาพความเป็นวัตถุวิสัยและสภาพสัมพัทธภาพ จากแนวคิดพฤติกรรมนิยมไปสู่ทางเลือกแบบมีเหตุผล แนวคิดแบบหน้าที่นิยมและ สังคมศาสตร์ในระดับมหภาค ตลอดจนคำถามในทางปรัชญาที่ยังคงดำรงอยู่ในทางสังคมศาสตร์
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • S2: มีทักษะสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ
      • A1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      • A2: เป็นผู้มีความลุ่มลึกในการแสวงหาความรู้ ความจริง ในทางสังคมศาสตร์
      • A3: เป็นผู้ตระหนักรู้ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการทำวิจัย
      25 Evaluation of students' Performance for Assoc. Prof. Dr. Somsak 100%
      1. Class Participation and Discussion 10%
      2. Assignment, Reading, and Presentation 25%
      3. Report and Paper 25%
      4. Written examination 40%
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • K2: เพื่อให้ ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจในคำอธิบายทางสังคมศาสตร์และการกระทำของมนุษย์
      • K3: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงวิธีการก้าวพ้นไปจากสภาพความเป็นวัตถุวิสัยและสภาพสัมพัทธภาพ จากแนวคิดพฤติกรรมนิยมไปสู่ทางเลือกแบบมีเหตุผล แนวคิดแบบหน้าที่นิยมและ สังคมศาสตร์ในระดับมหภาค ตลอดจนคำถามในทางปรัชญาที่ยังคงดำรงอยู่ในทางสังคมศาสตร์
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • S2: มีทักษะสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ
      • A1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      • A2: เป็นผู้มีความลุ่มลึกในการแสวงหาความรู้ ความจริง ในทางสังคมศาสตร์
      • A3: เป็นผู้ตระหนักรู้ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการทำวิจัย
      25 Evaluation of students' Performance for Assoc. Prof Dr. Prasit 100%
      1. Class Participation and Discussion 10%
      2. Assignment, Reading, and Presentation 25%
      3. Report and Paper 25%
      4. Written examination 40%
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • K2: เพื่อให้ ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจในคำอธิบายทางสังคมศาสตร์และการกระทำของมนุษย์
      • K3: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงวิธีการก้าวพ้นไปจากสภาพความเป็นวัตถุวิสัยและสภาพสัมพัทธภาพ จากแนวคิดพฤติกรรมนิยมไปสู่ทางเลือกแบบมีเหตุผล แนวคิดแบบหน้าที่นิยมและ สังคมศาสตร์ในระดับมหภาค ตลอดจนคำถามในทางปรัชญาที่ยังคงดำรงอยู่ในทางสังคมศาสตร์
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • S2: มีทักษะสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ
      • A1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      • A2: เป็นผู้มีความลุ่มลึกในการแสวงหาความรู้ ความจริง ในทางสังคมศาสตร์
      • A3: เป็นผู้ตระหนักรู้ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการทำวิจัย
      25 Evaluation of students' Performance for Prof. Dr.Sekson 100%
      1. Class Participation and Discussion 10%
      2. Assignment, Reading, and Presentation 25%
      3. Report and Paper 25%
      4. Written examination 40%
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงแนวความคิดว่าด้วยความเป็นศาสตร์ ธรรมชาติและลักษณะของปรัชญาทาง สังคมศาสตร์ ประวัติและรากเหง้าทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างปรากฎการณ์ทางสังคม ความเป็นไปได้ ในการดำรงอยู่ทางสังคม
      • K2: เพื่อให้ ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจในคำอธิบายทางสังคมศาสตร์และการกระทำของมนุษย์
      • K3: เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบและมีความเข้าใจถึงวิธีการก้าวพ้นไปจากสภาพความเป็นวัตถุวิสัยและสภาพสัมพัทธภาพ จากแนวคิดพฤติกรรมนิยมไปสู่ทางเลือกแบบมีเหตุผล แนวคิดแบบหน้าที่นิยมและ สังคมศาสตร์ในระดับมหภาค ตลอดจนคำถามในทางปรัชญาที่ยังคงดำรงอยู่ในทางสังคมศาสตร์
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถนำความรู้ความเข้าใจถึงรากฐาน ปรัชญาทางด้านสังคมศาสตร์มาใช้วิเคราะห์องค์การและปรากฏการณ์ทางสังคม และนำมาสู่การตั้งกรอบแนวคิดเพื่อเป็นรากฐานของการวิจัยได้
      • S2: มีทักษะสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ
      • A1: เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ถึงวิธีการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์
      • A2: เป็นผู้มีความลุ่มลึกในการแสวงหาความรู้ ความจริง ในทางสังคมศาสตร์
      • A3: เป็นผู้ตระหนักรู้ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการทำวิจัย
      25 Evaluation of students' Performance for Assoc. Prof. Dr.Pithandorn 100 %
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา Brodbeck, May. (1968). Reading in the Philosophy of the Social science. New York :
      The Macmillan.
      หนังสือ หรือ ตำรา Gianfranco Poggi. (2000). Durkheim. Oxford: Oxford University Press.
      หนังสือ หรือ ตำรา Durkheim, Emile. (1895). The Rules of the Sociological Method. Cited in Wacquant
      (1992). Schunk, Learning Theories: An Educational Perspective, 5th, 315
      หนังสือ หรือ ตำรา Cote, James E. and Levine, Charles G. (2002). Identity formation, Agency, and Culture,
      Mahwah, New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.
      หนังสือ หรือ ตำรา Ruben, David - Hiller .(1998). Social science, philosophy of. In E. Craig (Ed.), Routledge
      Encyclopedia of Philosophy. London: Routledge. Retrieved November 09, 2012, from http://www.rep.routledge.com/article/R047
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Robert Audi, ed. (1999). The Cambridge Dictionary of Philosophy (Second ed.).
      Cambridge: Cambridge University Press. pp. 704. ISBN 0-521-63722-8.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Outhwaite, William. (1988). Habermas: Key Contemporary Thinkers, Polity Press
      (Second dition 2009), ISBN 978-0-7456-4328-1 p.22
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Giddens, A. .(2006). Sociology. Oxford, UK: Polity. pp. 714. ISBN 0-7456-3379-X.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Braybrooke, David .(1986). Philosophy of Social Science. Prentice Hall. ISBN 0-13-663394-3.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Flyvbjerg, Bent (2001). Making Social Science Matter: Why Social Inquiry Fails and
      How It Can Succeed Again. Cambridge. ISBN 052177568X.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Hollis, Martin (1994). The Philosophy of Social Science: An Introduction. Cambridge
      ISBN 0-521-44780-1.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Little, Daniel .(1991). Varieties of Social Explanation : An Introduction to the Philosophy
      of Social Science. Westview Press. ISBN 0-8133-0566-7.
      หนังสือ หรือ ตำรา Rosenberg, Alexander. .(1995). Philosophy of Social Science. Westview Harper Collins.
      หนังสือ หรือ ตำรา The Cambridge Dictionary of Philosophy .(1995). edited by Robert Audi
      Cambridge University.
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Ruben, David - Hiller .(1998). Social science, philosophy of. In E. Craig (Ed.), Routledge
      Encyclopedia of Philosophy. London: Routledge. Retrieved November 09, 2012,
      from http://www.rep.routledge.com/article/R047
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2

      รายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ของแผนที่กระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
      หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2561)

      1. คุณธรรมและจริยธรรม
      1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
      1.2 มีภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ

      2. ความรู้
      2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
      2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
      2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ

      3.ทักษะทางปัญญา
      2.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
      2.2 สามารถดำเนินโครงการศึกษาที่สาคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ

      4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
      4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้

      5.ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้