Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS471903
ภาษาไทย
Thai name
ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงเชิงปริมาณทางรัฐประศาสนศาสตร์
ภาษาอังกฤษ
English name
ADVANCED QUANTITATIVE RESEARCH METHODOLOGY IN PUBLIC ADMINISTRATIONADMINISTRATION
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์สมศักดิ์ ศรีสันติสุข
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์สมศักดิ์ ศรีสันติสุข
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและถ่องแท้ในหลักการและทฤษฎีสำคัญสาขารัฐประศาสนศาสตร์ และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้า
    • มีความรู้ความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี และเทคนิคและกระบวนการการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงคุณภาพ
    • สามารถนำความรู้จากศาสตร์สาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการศึกษาค้นคว้า
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • สามารถคิดและหาเหตุผลอยางเปนระบบ และประยุกตความรูในวิชามาดำเนินการทำวิจัยได้อย่างเหมาะสม
      • สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
      • ทักษะการเป็นนักวิจัยเชิงที่มีคุณภาพ
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • มีภาวะผู้นำ และเป็นผู้ตามที่ดี มีรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และสามารถทำงานเป็นทีม ร่วมมือกับผู้อื่นในการทำงานได้
      • มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้
      • วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      การวิเคราะห์สถิติหลายตัวแปร การวิเคราะห์เชิงประจักษ์ การตั้งสมมติฐานและการทดสอบทฤษฎี การประยุกต์ใช้วิธีทางสถิติหลายตัวแปรทางรัฐประศาสนศาสตร์ การใช้เทคนิควิเคราะห์ทีละตัวแปร การวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุ เส้นทาง ลำดับเวลา ความแปรปรวน การจำแนกพหุ แยกแยะ กลุ่มตัวแปร และการทดสอบทางสถิติแบบอื่น ๆ
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Analysis of multivariate statistics, empirical data analysis, hypothesis, and theory testing, the principles and application of currently available multivariate statistical methods to various public administration research issues, the techniques of ordinary, stepwise, and hierarchical multiple regression analysis, path analysis, time series, analysis of variance and multiple classification analysis, discriminant analysis, factor, and cluster analysis, and various types of statistical tests of measurement reliability in public administration.
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      • Blended learning
      • Work integrated learning
      • assignment submitted in shared drive,slide or online presentation and discussion.
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Problem-based learning
      • Project-based learning
      • Case discussion
      • Seminar
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 1 Conceptual Foundation in Advanced Quantitative Social Sciences
      1.1 Paradigms of Social Research
      1.2 Research Ethics
      1.3 Research Design
      3
        2 2. Conceptualization in Advanced Quantitative Methodology in Social Sciences
        2.1 Formulating Research Questions
        2.1 Reviewing the existing literature
        2.2 Avoiding Plagiarism
        3
          3 3. Operationalization in Advanced Quantitative Methodology in Social Sciences
          3.1 Measurement
          3.2 Validity and Reliability
          3.3 Population and Sampling
          3
            4 4. Data Collection in Advanced Quantitative Methodology in Social Sciences
            4.1 Structured Interviewing
            4.2 Questionnaire
            4.3 Structured Observation
            4.4 Unobtrusive Measures
            4.5 Future techniques
            3
              5 5. Data Analysis in Advanced Quantitative Methodology in Public in Public Administration
              5.1 Logic of multivariate statistical analysis
              5.2 hypothesis and theory testing
              5.4 Quantitative Data Analysis
              5.5 Statistical Analysis :ANOVA, Regression, Factor analysis and Path analysis
              5.6 others
              5.3 Data processing

              3
                6 5.4 Quantitative Data Analysis 3
                  7 5.5 Statistical Analysis of ANOVA, 3
                    8 Regression 3
                      9 Factor analysis 3
                        10 Factor analysis 3
                          11 Path analysis 3
                            12 6. Report Writing in Advanced Quantitative Methodology in Public in Public Administration
                            6.1 Writing up the Research

                            3
                              13 6.2 Preparing for Presentation and Publication 3
                                14 Preparing for Presentation and Publication
                                  15 7.Research Proposal presentation in public Administration 3
                                    รวมจำนวนชั่วโมง 42 0
                                    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
                                         Course assessment
                                    วิธีการประเมิน
                                    Assessment Method
                                    CLO สัดส่วนคะแนน
                                    Score breakdown
                                    หมายเหตุ
                                    Note
                                    1) Assoc.Prof. Dr.Somsak Srisontisuk 50% Reading assignments Research paper and article writing due to class research practice.
                                    2) ผศ.ดร.ประกฤติยา ทักษิโณ 50% Assignments and practices of exercises
                                      สัดส่วนคะแนนรวม 0
                                      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
                                           Textbook and instructional materials
                                      ประเภทตำรา
                                      Type
                                      รายละเอียด
                                      Description
                                      ประเภทผู้แต่ง
                                      Author
                                      ไฟล์
                                      File
                                      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
                                           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
                                      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
                                      Evaluation of course effectiveness and validation
                                      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
                                      • ประเมินโดยการทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อประเมินภาพรวมของการจัดการเรียนการสอน (Classroom research is conducted to evaluate the overall picture of instructional management and learning and teaching.)
                                      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
                                      Improving Course instruction and effectiveness
                                      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
                                      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
                                      ผลการเรียนรู้
                                      Curriculum mapping
                                      1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2

                                      รายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ของแผนที่กระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
                                      หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2561)

                                      1. คุณธรรมและจริยธรรม
                                      1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
                                      1.2 มีภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ

                                      2. ความรู้
                                      2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
                                      2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
                                      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
                                      2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ

                                      3.ทักษะทางปัญญา
                                      2.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
                                      2.2 สามารถดำเนินโครงการศึกษาที่สาคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ

                                      4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
                                      4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
                                      4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้

                                      5.ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
                                      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
                                      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้