Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS471992
ภาษาไทย
Thai name
สัมมนาทางการบริหารงานท้องถิ่น
ภาษาอังกฤษ
English name
SEMINAR IN LOCAL ADMINISTRATION
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและถ่องแท้ในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
    • สามารถทำการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างถ่องแท้และลึกซึ้งโดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือ ประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
    • มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
    • ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฏระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
      • สามารถดำเนินการโครงการศึกษาทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปเพื่อต่อยอดองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติใน วิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับคนอื่นในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสม
      • มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      รูปแบบการบริหารงานท้องถิ่น กระบวนการการบริหารงานท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานการบริหารงานท้องถิ่นและหน่วยงานอื่น การควบคุมติดตามการบริหารงานท้องถิ่น ผลของการบริหารงานท้องถิ่นต่อการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อม

      ภาษาอังกฤษ
      English
      Models and processes of local administration, relation between local administration agencies and other social organizations, the governance of local administration, the impacts of local administration on economic, social, political, and environmental development.
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Case discussion
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 แนะนำรายวิชาและการกำหนดแผนการสัมมนา

      3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและถ่องแท้ในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
      • K2: สามารถทำการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างถ่องแท้และลึกซึ้งโดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือ ประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
      • K4: ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฏระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • S1: สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
      • S2: สามารถดำเนินการโครงการศึกษาทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปเพื่อต่อยอดองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติใน วิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
      อภิปรายและการระดมสมอง
      2-4 ประเด็นและข้อถกเถียงเกี่ยวกับหลัการ แนวคิด ทฤษฎี การบริหารงานท้องถิ่นในสังคมร่วมสมัย 9
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและถ่องแท้ในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
      • K2: สามารถทำการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างถ่องแท้และลึกซึ้งโดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือ ประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
      • K4: ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฏระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • S1: สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
      • S2: สามารถดำเนินการโครงการศึกษาทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปเพื่อต่อยอดองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติใน วิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
      • C1: มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับคนอื่นในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสม
      • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้
      การนำเสนอรายงานอภิปราย
      เอกสาร บทความ กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องและรายงานของนักศึกษา
      5-9 ประเด็นปัญหาการบริหารงานท้องถิ่นด้านรูปแบบ กระบวนการ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรและผลที่เกิดขึ้น 15
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและถ่องแท้ในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
      • K2: สามารถทำการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างถ่องแท้และลึกซึ้งโดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือ ประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
      • K4: ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฏระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • S1: สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
      • S2: สามารถดำเนินการโครงการศึกษาทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปเพื่อต่อยอดองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติใน วิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
      • C1: มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับคนอื่นในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสม
      • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้
      การศึกษาจากสถานการณ์จริง การอภิปราย
      เอกสาร บทความ กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องและรายงานของนักศึกษา
      10-12 แนวทางการพัฒนาและนวัตกรรม การบริหารงานท้องถิ่น




      9
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและถ่องแท้ในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
      • K2: สามารถทำการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างถ่องแท้และลึกซึ้งโดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือ ประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
      • K4: ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฏระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • S1: สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
      • S2: สามารถดำเนินการโครงการศึกษาทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปเพื่อต่อยอดองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติใน วิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
      • C1: มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับคนอื่นในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสม
      • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้
      การศึกษาจากสถานการณ์จริง การอภิปราย
      เอกสาร บทความ กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องและรายงานของนักศึกษา
      13-14 การบริหารงานท้องถิ่นในบริบททางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองของประเทศและสังคมโลกในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต 6
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและถ่องแท้ในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
      • K2: สามารถทำการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างถ่องแท้และลึกซึ้งโดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือ ประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
      • K4: ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฏระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • S1: สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
      • S2: สามารถดำเนินการโครงการศึกษาทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปเพื่อต่อยอดองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติใน วิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
      • C1: มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับคนอื่นในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสม
      • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้
      การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การนำเสนอและการอภิปราย เอกสาร บทความ กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องและรายงานของนักศึกษา
      15 สรุป 3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและถ่องแท้ในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
      • K2: สามารถทำการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างถ่องแท้และลึกซึ้งโดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือ ประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
      • K4: ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฏระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • S1: สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
      • S2: สามารถดำเนินการโครงการศึกษาทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปเพื่อต่อยอดองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติใน วิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
      การสังเคราะห์องค์ความรู้จากการสัมมนานำเสนอและการอภิปราย
      รายงานการสังเคราะห์องค์ความรู้จากการสัมมนาของนักศึกษา
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      แบบฝึกปฏิบัติ
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและถ่องแท้ในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
      • K2: สามารถทำการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างถ่องแท้และลึกซึ้งโดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือ ประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
      • K4: ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฏระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • S1: สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
      • S2: สามารถดำเนินการโครงการศึกษาทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปเพื่อต่อยอดองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติใน วิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
      รายงาน
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและถ่องแท้ในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
      • K2: สามารถทำการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างถ่องแท้และลึกซึ้งโดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือ ประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
      • K4: ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฏระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • S1: สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
      • S2: สามารถดำเนินการโครงการศึกษาทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปเพื่อต่อยอดองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติใน วิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
      • A1: มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับคนอื่นในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสม
      • A2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้
      70
      การสอบ
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและถ่องแท้ในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
      • K2: สามารถทำการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างถ่องแท้และลึกซึ้งโดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือ ประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
      • K4: ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฏระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • S1: สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
      • S2: สามารถดำเนินการโครงการศึกษาทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปเพื่อต่อยอดองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติใน วิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
      30
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา Gargan, John J. (ed.). 1997. Handbook of Local Government Administration. New York: Marcel Dekker, Inc.
      หนังสือ หรือ ตำรา Mecarney, Patricia (ed.). 1996. The Changing Nature of Local Government in Developing Countries.
      Toronto : Center for Urban and Community Studies. University of Toronto
      หนังสือ หรือ ตำรา Turner, Mark and Hume David. 1997. Governance, Administration and Development : Making the State
      Work. London : Macmillan Press.
      หนังสือ หรือ ตำรา โกวิทย์ พวงงาม. 2552. มิติใหม่การปกครองท้องถิ่น: วิสัยทัศน์กระจายอำนาจและการบริหารงานท้องถิ่น. กรุงเทพฯ:
      เสมาธรรม.
      หนังสือ หรือ ตำรา วันชัย วัฒนศัพท์ (แปลและเรียบเรียง). คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจของชุมชน. กรุงเทพฯ: สถาบัน
      พระปกเกล้า.
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2

      รายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ของแผนที่กระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
      หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2561)

      1. คุณธรรมและจริยธรรม
      1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
      1.2 มีภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ

      2. ความรู้
      2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
      2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
      2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ

      3.ทักษะทางปัญญา
      2.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
      2.2 สามารถดำเนินโครงการศึกษาที่สาคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ

      4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
      4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้

      5.ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้