รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
ชี้แจงรายละเอียดวิชาวิธีการเรียน และเกริ่นนำเนื้อหา 1. การวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย 1.1 ความหมายและความสำคัญ 1.2 ขอบข่ายและประเภท 1.3 ขั้นตอน |
6 |
|
-อธิบาย ซักถาม และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย -เอกสารทางวิชาการ -powerpoint |
|
3-6 |
2. ประเภทการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย 2.1 ภาคสนาม 2.2 เชิงประวัติ 2.3 กรณีศึกษา 2.4 วิจัยเอกสาร |
9 |
|
อธิบาย ซักถาม และวิพากษ์ประเภทของการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยโดยศึกษาจากกรณีศึกษารายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ -เอกสารทางวิชาการ -งานวิจัย -powerpoint |
|
7-9 |
3. การออกแบบงานวิจัย 3.1 การเลือกใช้แบบการวิจัย 3.2 กรอบแนวคิดในการวิจัย 3.3 ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย 3.4 เครื่องมือการวิจัย 3.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล |
9 |
|
บรรยาย ซักถาม สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เพื่ออภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับแนวทางการออกแบบงานวิจัยโดยศึกษาจากกรณีตัวอย่างงานวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย -เอกสารทางวิชาการ -งานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ -powerpoint |
|
10-12 |
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4.1 ข้อมูลทางการใช้ภาษาไทย และภาษาศาสตร์ 4.2 ข้อมูลทางวรรณคดี และวรรณกรรมไทย 4.3 ข้อมูลทางคติชนวิทยา |
9 |
|
อธิบาย และฝึกการวิเคราะห์ข้อมูลประเภทต่าง ๆ โดยศึกษาจากตัวอย่างงานวิจัยทั้งด้านการใช้ภาษาไทย ภาษาศาสตร์ วรรณคดี วรรณกรรมไทย และคติชนวิทยา -เอกสารทางวิชาการ -powerpoint |
|
13-15 |
5. การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 5.1 รูปแบบ 5.2 ลักษณะการนำเสนอ |
9 |
|
อธิบายและฝึกเขียนเพื่อนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยศึกษาจากกรณีตัวอย่างของงานวิจัยประเภทต่าง ๆ -เอกสารทางวิชาการ -powerpoint |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 42 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
แบบฝึกหัด, งานที่มอบหมายให้ทำ |
|
30 | |
การนำเสนอผลงานและการอภิปราย |
|
40 | |
รายงานฉบับสมบูรณ์ |
|
30 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | ชำนาญ รอดเหตุภัย. (2553). การวิจัยทางภาษาไทย : หลักการและวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพทางภาษาไทย ไทยคดีศึกษา ศึกษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วัฒนธรรมศาสตร์ และศาสตร์สาขาที่เกี่ยวข้อง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ลำปาง แม่นมาตย์ และคนอื่น ๆ. (ปรับปรุงและเรียบเรียง). (2550). คู่มือการทำวิทยานิพนธ์ 2550. พิมพ์ครั้งที่ 5 (ฉบับปรับปรุง). ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | อาจารย์ภายในคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ และคนอื่น ๆ. (บรรณาธิการ). (2537). การวิจัยเชิงคุณภาพกับการวิจัยสังคมและวัฒนธรรมไทยเพื่ออนาคต. กรุงเทพฯ: สมาคมวิจัยเชิงคุณภาพแห่งประเทศไทยร่วมกับคณะสังคมวิทยามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | นภาลัย สุวรรณธาดา, สุมาลี สังข์ศรี, ธีรยุทธ์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา และธิดา โมสิกรัตน์. (2548). การเขียนผลงานวิชาการและ บทความ. กรุงเทพฯ: หจก.ภาพพิมพ์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ปรีชา ช้างขวัญยืน (บรรณาธิการ). (2548). เทคนิคการเขียนและผลิตตำรา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2553). คู่มือการวิจัย การเขียนรายงาน การวิจัยและวิทยานิพนธ์. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: ภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ยุทธพงษ์ กัยวรรณ์. (2543). พื้นฐานการวิจัย. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ระพีพรรณ พิริยะกุล. (2530). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: ภาควิชาสถิติและคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ศักดิ์ศรี ปาณะกุล ละนิรมล ศตวุฒิ. (2546). การเขียนเอกสารวิชาการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | สมคิด พรมจุ้ย. (2554). การเขียนโครงการวิจัย : หลักการและแนวปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 4 (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม). นนทบุรี: จตุพรดีไซน์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุภางค์ จันทวานิช. (2546). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | อุทุมพร (ทองอุไทย) จามรมาน. (2537). การทำวิจัยเชิงสำรวจ. ม.ป.ท. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 มีภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข. ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชาภาษาไทยทั้งภาษาศาสตร์ภาษาไทยและวรรณกรรมไทย และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาภาษาไทย รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาภาษาไทย และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยในหัวข้อที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้