รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
ชี้แจงรายละเอียดวิชาและการเรียนการสอน -ความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณกรรมและภาพยนตร์ |
3 |
|
กิจกรรม -อธิบาย ซักถามเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจ สื่อการสอน -เอกสารประกอบการสอน powerpoint วิธีการประเมิน -การแสดงความคิดเห็น -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน |
|
2 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเกี่ยวกับวรรณกรรมและภาพยนตร์ | 3 |
|
กิจกรรม -อภิปราย ซักถาม และแสดงความคิดเห็น การยกตัวอย่างประกอบ สื่อการสอน -เอกสารประกอบการสอน powerpoint วิธีการประเมิน -การแสดงความคิดเห็น -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -ใบงาน |
|
3-4 | ประเภทของวรรณกรรม | 6 |
|
กิจกรรม -บรรยาย ซักถาม การยกตัวอย่างและแสดงความคิดเห็น สื่อการสอน -เอกสารประกอบการสอน powerpoint วิธีการประเมิน -การแสดงความคิดเห็น -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -ใบงาน |
|
5-6 | ประเภทของภาพยนตร์ | 6 |
|
กิจกรรม -บรรยาย ซักถาม การยกตัวอย่างและแสดงความคิดเห็น สื่อการสอน -เอกสารประกอบการสอน powerpoint วิธีการประเมิน -การแสดงความคิดเห็น -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -ใบงาน |
|
7-8 | ความเชื่อมโยงและอิทธิพลของวรรณกรรมกับภาพยนตร์ | 6 |
|
กิจกรรม -บรรยาย ซักถาม การยกตัวอย่างและแสดงความคิดเห็น สื่อการสอน -สื่อการสอน -เอกสารประกอบการสอน powerpoint วิธีการประเมิน -การแสดงความคิดเห็น -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -ใบงาน |
|
9-10 |
หลักการและแนวคิด ที่ใช้ในการวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์ประเภทต่างๆ -แนวคิดโครงสร้างนิยม |
6 |
|
กิจกรรม -บรรยาย ซักถาม การยกตัวอย่างและแสดงความคิดเห็น สื่อการสอน -สื่อการสอน -เอกสารประกอบการสอน powerpoint วิธีการประเมิน -การแสดงความคิดเห็น -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -ใบงาน |
|
11-12 |
หลักการและแนวคิด ที่ใช้ในการวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์ประเภทต่างๆ -แนวคิดหลังโครงสร้างนิยมและหลังสมัยใหม่นิยม |
6 |
|
กิจกรรม -บรรยาย ซักถาม การยกตัวอย่างและแสดงความคิดเห็น สื่อการสอน -สื่อการสอน -เอกสารประกอบการสอน powerpoint วิธีการประเมิน -การแสดงความคิดเห็น -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -ใบงาน |
|
13-14 |
หลักการและแนวคิด ที่ใช้ในการวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์ประเภทต่างๆ -แนวคิดสตรีนิยม |
6 |
|
กิจกรรม -บรรยาย ซักถาม การยกตัวอย่างและแสดงความคิดเห็น สื่อการสอน -สื่อการสอน -เอกสารประกอบการสอน powerpoint วิธีการประเมิน -การแสดงความคิดเห็น -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -ใบงาน |
|
15 | วิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์คัดสรร | 3 |
|
กิจกรรม -บรรยาย ซักถาม การยกตัวอย่างและแสดงความคิดเห็น สื่อการสอน -สื่อการสอน -เอกสารประกอบการสอน powerpoint วิธีการประเมิน -การแสดงความคิดเห็น -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -ใบงาน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
งานที่มอบหมายให้ทำ |
|
30 | สัปดาห์ที่ 4, 6, 12,14,15 |
การนำเสนอผลงานและการอภิปราย |
|
40 | สัปดาห์ที่ 12,14,15 |
บทความ |
|
30 | สัปดาห์ที่ 15 |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
อรทัย เพียยุระ. 2562. วรรณกรรมกับภาพยนตร์. เอกสารประกอบการสอน.ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Soles, D. 2009. Understanding Literature and Film. Abergele: Study Mates Limited. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Storey, J.2009. Cultural Theory and Popular Culture. Essex: Pearson Education Limited | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Longhurst, B.2008. Introducing Cultural Studies. Essex: Pearson Education Limited. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | กาญจนา แก้วเทพ. 2535. ม่านแห่งอคติ. กรุงเทพฯ: เจนเดอร์เพรส. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | กุสุมา รักษมณี. 2547. วรรณนัยวินิจ. กรุงเทพฯ: แม่คำผาง. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | กุหลาบ มัลลิกะมาส. 2548. วรรณกรรมวิจารณ์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | เจตนา นาควัชระ. 2524. ทางไปสู่วัฒนธรรมแห่งการวิจารณ์. กรุงเทพฯ: ดวงกมล. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | เจตนา นาควัชระ. 2542. ทฤษฎีเบื้องต้นแห่งวรรณคดี. กรุงเทพฯ: ศยาม. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | เจตนา นาควัชระ. 2549. วิถีแห่งการวิจารณ์:ประสบการณ์จากสามทศวรรษ. กรุงเทพฯ: ชมนาด. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ธัญญา สังขพันธานนท์. 2539. วรรณกรรมวิจารณ์. ปทุมธานี: นาคร. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ชัตสุณี สินธุสิงห์,(ed.). 2538. วรรณคดีทัศนา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ตรีศิลป์ บุญขจร. 2542. นวนิยายกับสังคมไทย2475-2500. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | รัญจวน อินทรกำแหง. 2521. วรรณกรรมวิจารณ์. กรุงเทพฯ: ดวงกมล. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | รื่นฤทัย สัจพันธ์. 2544. วรรณคดีศึกษา. กรุงเทพฯ: ฐานปัญญา. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | วิทย์ ศิวะศริยานนท์. 2504. วรรณคดีและวรรณคดีวิจารณ์. กรุงเทพฯ: สมาคมภาษาและหนังสือ. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
วิทยากร เชียงกูลและพรภิรมณ์ เอี่ยมธรรม. 2547. อธิบายศัพท์ปรัชญาการเมืองและสังคม.กรุงเทพฯ: สายธาร. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Barry Peter. 1995. Beginning Theory: An Introduction to Literary and Cultural Theory. Manchester University Press. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Durant &Fabb. 1992. Literary Studies in Action. London: Routledge. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Eagleton, Terry. 1996. Literary Theory. Oxford: Blackwell. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 มีภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข. ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชาภาษาไทยทั้งภาษาศาสตร์ภาษาไทยและวรรณกรรมไทย และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาภาษาไทย รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาภาษาไทย และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยในหัวข้อที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้