รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรใหม่ ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
1) ชี้แจงรายละเอียดวิชา วิธีการเรียน และเกริ่นนำเนื้อหา 1.1 ความหมาย 1.2 ขอบเขต |
3 |
|
- อธิบาย ซักถาม และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรายละเอียดของเนื้อหารายวิชา - เอกสารทางวิชาการ - powerpoint - www.youtube.com (what is SOCIOCULTURAL LINGUISTICS ?) ในห้องเรียน |
|
2-4 |
2) ภาษาศาสตร์สังคมและภาษาศาสตร์เชิงสังคมวัฒนธรรม 2.1 ความหมาย 2.2 ความสัมพันธ์และความแตกต่างระหว่างภาษาศาสตร์สังคมและภาษาศาสตร์เชิงสังคมวัฒนธรรม 3) วัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลง 3.1 ความหมาย 3.2 ประเภท |
9 |
|
- อธิบาย ซักถาม และวิพากษ์ ความหมายและความสัมพันธ์และความแตกต่างระหว่างภาษาศาสตร์สังคมและภาษาศาสตร์เชิงสังคมวัฒนธรรม - อ่านงานวิจัยเกี่ยวกับวัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลง - เอกสารทางวิชาการ - งานวิจัย - powerpoint -www.slidshare.com (https://www.slideshare.net/wolfpackfletcher/sociocultural-and-sociolinguistic-theories-compared) ในห้องเรียน |
|
5-7 |
4) ภาวะหลายภาษา 4.1 การสัมผัสภาษา 4.2 ภาษากับเพศ 4.3 ภาษากับทัศนคติ 5) การเปลี่ยนแปลงภาษาไทย 5.1 ความหมาย 5.2 ประเภท |
9 |
|
- บรรยาย ซักถาม สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่ออภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับภาวะหลายภาษาและการเปลี่ยนแปลงภาษาไทย - เอกสารทางวิชาการ - งานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ - powerpoint - www. youtube.com ประเด็น สังคมพหุภาษา (multilingual society) https://www.youtube.com/watch?v=cXYFWyTYObQ&ab_channel=AdvanceConsultingforEducation ในห้องเรียน |
|
8-10 |
6) ภาษาศาสตร์เชิงภูมิศาสตร์สังคม 6.1 ความหมาย 6.2 ประเภท 6.3 งานวิจัยเกี่ยวกับภาษาศาสตร์เชิงภูมิศาสตร์สังคม |
9 |
|
- อภิปรายความหมายและประเภทของภาษาศาสตร์เชิงวัฒนธรรมสังคม - เอกสารทางวิชาการ - งานวิจัย - powerpoint - สื่อออนไลน์ เรื่อง https://www.youtube.com/watch?v=cXYFWyTYObQ&ab_channel=AdvanceConsultingforEducation |
|
11-13 |
7) ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการศึกษาภาษาศาสตร์เชิงสังคมวัฒนธรรม |
9 |
|
- อธิบายทฤษฎีที่เกี่ยวกับการศึกษาภาษาศาสตร์เชิงวัฒนธรรม - เอกสารทางวิชาการ - งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - powerpoint ในห้องเรียน |
|
14-15 |
8) ประเด็นปัจจุบันของการศึกษาภาษาไทยตามแนวทางภาษาศาสตร์เชิงสังคมวัฒนธรรม |
6 |
|
- นำเสนอประเด็นวิจัยภาษาไทยตามแนวทางภาษาศาสตร์เชิงสังคมวัฒนธรรม - เอกสารทางวิชาการ - งานวิจัยที่เกีย่วข้อง - นำเสนอผลการค้นคว้าตามประเด็นที่สนใจ ในห้องเรียน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
แบบฝึกหัด, งานที่มอบหมายให้ทำ |
|
40 | |
การนำเสนอผลงานและการอภิปราย |
|
30 | |
รายงานฉบับสมบูรณ์ |
|
30 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Salzmann, Z., Stanlaw, J. and Adachi, N. (2017). Language, Culture, and Society: An Introduction to Linguistic Anthropology. Avalon Publishing. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Meyerhoff, M. (2006). Introducing Sociolinguistics. Great Britain : Routledge. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Gumperz, John J.; Cook-Gumperz, Jenny (2008). "Studying language, culture, and society: Sociolinguistics or linguistic anthropology?". Journal of Sociolinguistics. 12 (4): 532–545. doi:10.1111/j.1467-9841.2008.00378.x. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | Stewart, William A (1968). "A Sociolinguistic Typology for Describing National Multilingualism". ใน Fishman, Joshua A (บ.ก.). Readings in the Sociology of Language. The Hague, Paris: Mouton | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
-www.linguist.org -https://www.linguisticsociety.org/resource/sociolinguistics |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ของแผนที่กระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรใหม่ 2560)
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 มีภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข. ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชาภาษาไทยทั้งภาษาศาสตร์ภาษาไทยและวรรณกรรมไทย และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาภาษาไทย รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาภาษาไทย และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยในหัวข้อที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้